Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3345
Title: ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้วยวิธีการทางประวัติศาสตร์เรื่องการอยู่ร่วมกันในสังคมพหุวัฒนธรรม กรณีศึกษา : ชาวมอแกน อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสุรินทร์ อำเภอคุระบุรี จังหวัดพังงา ในรายวิชา ส 32101 สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนบ้านหินลาด จังหวัดพังงา
Other Titles: Effects of teaching by using the historical method on learning achievement on the topic of Sukhothai histrorical development, in SOC 32101 : social studies, religion and culture, of Mathayom Suksa II students at Banhinlad School in Phangnga Province
Authors: สิริวรรณ ศรีพหล
วรรณวิไล ใจเกลี้ยง, 2523-
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์
Keywords: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาหลักสูตรและการสอน--การศึกษาเฉพาะกรณี
สังคมศึกษา--การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)--ไทย--พังงา
สังคมศึกษา--กิจกรรมการเรียนการสอน
การศึกษาอิสระ--หลักสูตรและการสอน
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
Issue Date: 2550
Publisher: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิทางการเรียนก่อนเรียนและหลัง เรียนของนักเรียน เรื่อง การอยู่ร่วมกันในสังคมพหุวัฒนธรรม กรณีศึกษา : ชาวมอแกน อุทยาน แห่งชาติหมู่เกาะสุรินทร์ อำเภอคุระบุรี จังหวัดพังงา ในรายวิชา ส 32101 สังคมศึกษา ศาสนาและ วัฒนธรรม ที่สอนด้วยวิธีการทางประวัติศาสตร์ กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2551 โรงเรียนบ้านหินลาด อำเภอคุระบุรี จังหวัดพังงา เลือกโดยการสุ่มแบบกลุ่ม โดยการจับฉลาก จำนวน 1 ห้องเรียน มีนักเรียน 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ (1) แผนการจัดการเรียนรู้ด้วยวิธีการทางประวัติศาสตร์ และ (2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิทางการเรียน สถิติที่ใช้ในการ วิเคราะห์ข้อมูล คือ การทดสอบค่าที ผลการวิจัยพบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่สอนด้วยวิธีการทางประวัติศาสตร์หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.1
URI: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3345
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_112985.pdfเอกสารฉบับเต็ม11.02 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons