Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3359
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ธโสธร ทองคำ | th_TH |
dc.contributor.author | กนกวรรณ พันธุ์พาณิชย์, 2520- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชารัฐศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-02-16T07:24:48Z | - |
dc.date.available | 2023-02-16T07:24:48Z | - |
dc.date.issued | 2553 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3359 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพี่อศึกษาปัจจัยทางการเมืองการปกครองที่ทำให้เชียงใหม่เป็นเมืองเอกนครระดับภูมิภาค ผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยสำคัญที่ทำให้เชียงใหม่เป็นเมืองเอกนครระดับภูมิภาคประกอบด้วย 1) ปัจจัยด้านประวัติศาสตร์การเมืองการปกครอง การเป็นศูนย์กลางของอาณาจักรล้านนา การเป็นหัวเมืองประเทศราชของราชอาณาจักรสยาม และการเป็นหัวเมืองหลักของการปกครองมณฑลเทศาภิบาลของภาคเหนือตอนบน ทำให้เชียงใหม่มีความสำคัญและโดดเด่น 2) ปัจจัยด้านภูมิรัฐศาสตร์สภาพภูมิประเทศและทำเลที่ตั้งที่เหมาะสม ส่งเสริมให้เชียงใหม่เติบโตจนกลายเป็นศูนย์อำนาจทางการเมืองการปกครองและเศรษฐกิจของภาคเหนือ 3) ปัจจัยด้านสถาบันพระมหากษัตริย์ การสรัางพระตำหนักภูพิงคราชนิเวศน์ทำให้เกิดการขยายตัวของส่วนราชการและการย้ายที่ทำการมาเชียงใหม่เป็นจำนวนมาก 4) ปัจจัยด้านนโยบายและการพัฒนาประเทศ การกำหนดนโยบายการพัฒนาเมืองและภูมิภาคในสมัยจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์และการกำหนดให้เชียงใหม่เป็นเมืองหลักของภาคเหนือตอนบนตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 4 ส่งผลให้เชียงใหม่เติบโตอย่างมาก 5) ปัจจัยด้านการเป็นศูนย์กลางของส่วนราชการในภาคเหนือ การเติบโตของเมืองในช่วงที่ผ่านมา นอกจากจะมีการจัดตั้งส่วนราชการในเชียงใหม่ ตั้งแต่ พ.ศ. 2528 เป็นต้น มาแล้วยังทำให้มีการย้ายส่วนราชการจากจังหวัดลำปางมาอยู่ที่เชียงใหม่ระหว่างพ.ศ. 2535 - 2540 6) ปัจจัยด้านการเมืองเรื่องการจัดตั้งมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ การกำหนดนโยบายจากการเมืองระดับชาติและการผลักดันจากตระกูลการเมือง นักการเมือง ประชาชน และสื่อมวลชนของเชียงใหม่ ก่อให้เกิดการจัดตั้งมหาวิทยาลัยในภูมิภาคแห่งแรก 7) ปัจจัยด้านการเมืองการปกครองระดับประเทศสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของเชียงใหม่จำนวนหนึ่งดำรงดำแหน่งรัฐมนตรี ส่งผลต่อการผลักดันนโยบายและโครงการสำคัญที่ส่งผลต่อการพัฒนาและขยายตัวของจังหวัดเชียงใหม่ 8) ปัจจัยด้านการเมืองการปกครองระดับห้องถิ่น การต่อการแข่งขันทางการเมืองท้องถิ่นโดยการประเด็นนโยบายการพัฒนาเมือง นำไปสู่การสร้างความเติบโตให้เมืองเชียงใหม่อย่างต่อเนื่อง | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Reformatted digital | en_US |
dc.subject | การเมือง. | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--การเมืองการปกครอง | th_TH |
dc.subject | เชียงใหม่--การเมืองและการปกครอง | th_TH |
dc.title | ปัจจัยทางการเมืองการปกครองที่ทำให้เชียงใหม่เป็นเมืองเอกนครระดับภูมิภาค | th_TH |
dc.title.alternative | Politics and government factors effect on regional primate city of Chiang Mai | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | รัฐศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชารัฐศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
Appears in Collections: | Pol-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
118514.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 6.03 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License