Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/335
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวิกรณ์ รักษ์ปวงชนth_TH
dc.contributor.authorอมเรศ กระบวนสิน, 2531-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-09T02:36:46Z-
dc.date.available2022-08-09T02:36:46Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/335en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (น.ม. (กฎหมายธุรกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2560th_TH
dc.description.abstractการวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความเป็นมาของระบบการอยู่อาศัยแบบอาคารชุด วิวัฒนาการ เจตนารมณ์ และแนวคิดของระบบกรรมสิทธิ์ร่วม และมาตรการทางกฎหมายอาคารชุดของพระราชบัญญัติอาคารชุด พ.ศ. 2522 ในประเทศไทยและ Condominium Act 1976 (chapter 825) ในรัฐคอนเนตทิคัต สหรัฐอเมริกา เพื่อวิเคราะห์เปรียบเทียบระบบและมาตรการทางกฎหมายอาคารชุดของทั้งสองรัฐ วิทยานิพนธ์นี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพด้วยวิธีวิจัยเอกสารโดยทำการค้นคว้าจากเอกสาร บทกฎหมาย ตำรา บทความ วิทยานิพนธ์ งานวิจัย วารสาร คำพิพากษาศาลฎีกา และข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ต่าง ๆ ที่มีความเกี่ยวข้อง กับอาคารชุดทั้งในภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ เพื่อนำองค์ความรู้ที่ได้มาวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลในรูปแบบเชิงพรรณนา ผลการวิจัยพบว่าบทบัญญัติในพระราชบัญญัติอาคารชุด พ.ศ. 2522 ยังไม่สมบูรณ์และมีประสิทธิภาพ เนื่องจากบทบัญญัติบางส่วนมีความไม่ชัดเจน ไม่เหมาะสม และไม่สอดคล้องกับสภาพสังคมและเศรษฐกิจของ ประเทศไทยในปัจจุบันอันนำไปสู่ประเด็นปัญหาหลายประการทั้งในด้านกฎหมายและในทางปฏิบัติได้แก่ข้อจำกัดด้านรูปแบบและการรวมอาคารชุด การควบคุมและความรับผิดเกี่ยวกับการโฆษณาขายห้องชุด รายละเอียดที่ใช้ในการจดทะเบียนเพื่อก่อตั้งเป็นอาคารชุด การบังคับคดีเอากับทรัพย์ส่วนกลางอำนาจการฟ้องหรือต่อสู้คดีและความรับผิด ทางแพ่ง ค่าใช้จ่ายร่วมกัน หนังสือรับรองการปลอดหนี้ และความรับผิดในค่าใช้จ่ายส่วนกลางจากการขายทอดตลาด ห้องชุด การรุกล้ำและอำนาจเหนือภารยทรัพย์ภายในอาคารชุด การขายห้องชุดในกรณีที่ยังก่อสร้างอาคารชุดไม่เสร็จ สมบูรณ์เจ้าของโครงการหรือผู้ขอจดทะเบียนอาคารชุดทำนิติกรรมผูกพันอาคารชุด อำนาจของผู้จัดการในการดูแล รักษาความเรียบร้อยและความปลอดภัยภายในอาคารชุด อำนาจเรียกประชุมของเจ้าของร่วมในกรณีผู้จัดการนิติบุคคล อาคารชุดไม่ทำตามหน้าที่หรือกรณีจำเป็นอื่น ๆ การแบ่งปันผลประโยชน์จากการจัดหาผลประโยชน์ในทรัพย์ ส่วนกลาง การซ่อมแซม ทดแทน หรือสร้างใหม่ในกรณีทรัพย์ส่วนกลางหรืออาคารชุดได้รับความเสียหาย การคุ้มครองผู้รับจำนองหรือผู้มีบุริมสิทธิเหนือห้องชุด และสิทธิในการเลิกอาคารชุดและการอยู่อาศัยของเจ้าของร่วม ภายหลังมีการเลิกอาคารชุด ดังนี้ จึงเห็นได้ว่าพระราชบัญญัติอาคารชุด พ.ศ. 2522 ยังไม่อาจคุ้มครองประโยชน์แก่ บุคคลต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับอาคารชุด เช่น เจ้าของร่วม เจ้าหนี้ ลูกหนี้ บุคคลภายนอก ผู้เสียหาย ผู้รับจำนองหรือผู้มี บุริมสิทธิเหนือห้องชุด เป็นต้น รวมทั้งยังขาดบทบัญญัติในด้านของการควบคุม และส่งเสริมการทำธุรกิจอาคารชุด ซึ่งปัญหาดังกล่าวย่อมก่อให้เกิดผลเสียหายต่อระบบกฎหมายอาคารชุด ความสงบเรียบร้อย ความเชื่อมัน และความมั่นคงของการอยู่อาศัยภายในอาคารชุด อันจะส่งผลกระทบต่อระบบเศรษฐกิจในภาพรวมของประเทศไทยได้th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายธุรกิจ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectอาคารชุด--กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ--ไทยth_TH
dc.subjectอาคารชุด--กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ--สหรัฐอเมริกาth_TH
dc.titleกฎหมายอาคารชุด เปรียบเทียบของประเทศไทยกับรัฐคอนเนตทิคัต สหรัฐอเมริกาth_TH
dc.title.alternativeA comparative study of the Thai and Connecticut Condominium Actsth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2017.132-
dc.identifier.urlhttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2017.132en_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeAbstract The purpose of this research is to study the Condominium Law of Thailand and Connecticut, United States including the evolution, intention, and principles of condominium ownership for doing an analysis and making a comparison between the Condominium Acts of Thailand and Connecticut. This research is a documentary research by studying books, Thai Laws, American Laws, Connecticut State Laws, journals, theses, judgments of the Supreme Court and electronic resources concerning the Condominium Laws to analyze and describe the problems of the Condominium Laws of the two countries This research found that the Thai Condominium Act B.E. 2522 was not complete and inefficient because some provisions of the Act were still not clear and did not align with the Thai social and economic condition. These issues led to many problems regarding the law and practice, e.g., restriction of condominium types and consolidation of condominiums; public offering statement and liability; details used to register for setting up a condominium; foreclosure sale of common property for auction; right to sue and be sued in any court and liability of unit owner; common expenses; certificate of debt-free and liability of common expenses if foreclosure sale not fully satisfied; encroachments and easements; selling unit that has not been completed; registrant making juristic acts that bind unit owners and condominium; power of manager on management and maintenance; right to call for the meeting when the person in charge ignores; distribution of common profits; insurance for condominium; preferential right protection, and right of unit owners to revoke condominium, and the living of joint-owners afterward. These issues showed that the Thai Condominium Act could not protect the interest of unit owners, creditors, debtors, third parties, injured persons and mortgagees or others who have preferential right. Moreover, this Act still lacked of the provision controlling and encouraging condominium business. Probably, these problems will cause damages to the Condominium Law, public order, and the confidence and stability of living in condominiums. In addition, these will also affect the overall economy of Thailand.en_US
dc.contributor.coadvisorวิมาน กฤตพลวิมานth_TH
Appears in Collections:Law-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thesbib156518.pdfเอกสารฉบับเต็ม7.84 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons