Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/336
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวิภา เจริญภัณฑารักษ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorดวงดาว วิชาดากุล, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorเสกสรรค์ วิลัยลักษณ์, 2520--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-09T02:38:30Z-
dc.date.available2022-08-09T02:38:30Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/336-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม. (เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2558th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาคลังข้อมูล และสร้างตัวแบบพยากรณ์ผลการเรียนของนักเรียนโรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา โดยใช้ข้อมูลนักเรียนระดับมัธยมศึกษาระหว่างปี การศึกษา 2548 – 2556 เพื่อพัฒนาคลังข้อมูลโดยใช้โครงสร้างแบบสโนว์เฟลก สกีมาและนำเสนอรายงาน จากนั้นใช้ข้อมูลนักเรียน ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 4 ระหว่าง ปีการศึกษา 2553 – 2556 จำนวน 525 ระเบียน ประกอบด้วย 16 คุณลักษณะ มาสร้างตัวแบบพยากรณ์ผลการเรียนโดยใช้ชุดข้อมูล 2 แบบ คือ ข้อมูลแบบไม่จัดกลุ่ม (Original Data) และข้อมูลแบบจัดกลุ่ม (Data Cluster) จากนั้นนำไปผ่านกระบวนการคัดเลือกคุณลักษณะ (Feature Selection) ซึ่งใช้วิธี Correlation-based Feature Selection (CFS) และวิธี Information Gain (IG) แล้วใช้เทคนิคเหมืองข้อมูลแบบโครงข่ายประสาทเทียมแบบมัลติเลเยอร์เพอร์เซ็ปตรอน (MLP) ซัพพอร์ตเวกเตอร์แมชชีน (SVM) และต้นไม้ตัดสินใจ (Decision Tree) มาสร้างตัวแบบพยากรณ์และเปรียบเทียบตัวแบบ ด้วยการทดสอบประสิทธิภาพแบบ 10-fold Cross Validation ผลการวิจัยพบว่า คลังข้อมูลนักเรียนระดับมัธยมศึกษาที่ใช้งานโดย ผู้บริหาร หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ และอาจารย์ประจำชั้นมีความพึงพอใจการใช้งานคลังข้อมูลอยู่ในระดับดี และในการทำเหมืองข้อมูลสร้างตัวแบบพยากรณ์ พบว่า ชุดข้อมูลแบบไม่จัดกลุ่มนำมาคัดเลือกคุณลักษณะด้วยวิธี Correlation-based Feature Selection (CFS) ร่วมกับโครงข่ายประสาทเทียม แบบมัลติเลเยอร์เพอร์เซ็ปตรอน ให้ค่าความถูกต้องสูงที่สุดที่ร้อยละ 94.48 และมีค่ารากที่สองของความคลาดเคลื่อนน้อยที่สุดที่ 0.1880 เหมาะสมสำหรับการสร้างระบบพยากรณ์ผลการเรียนเฉลี่ยของนักเรียน ซึ่งนักเรียนสามารถนำผลการพยากรณ์ไปประกอบการตัดสินใจและวางแผนการเรียนth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2015.214en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectพยากรณ์ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนth_TH
dc.subjectการสร้างคลังข้อมูลth_TH
dc.titleการใช้เทคนิคการทำเหมืองข้อมูลเพื่อพยากรณ์ผลการเรียนของนักเรียนโรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษาth_TH
dc.title.alternativeUtilizing data mining techniques to forecast student academic achievement of Kasetsart University Laboratory School Kamphaeng Saen Campus Educational Research and Development Centerth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2015.214en_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชen_US
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to develop the data warehouse and to construct the “Prediction Model” of high school students achievement of Kasetsart University Laboratory school, Kamphaeng Saen Campus Educational Research and Development Center, from the data during academic year 2005-2013 to develop the data warehouse using the structure of snowflake schema and presentations, and then use the Mathayomsuksa 4 students’ data during academic year 2010-2013 consisted of 525 records including 16 features of attributes to construct the “Prediction Model” with 2 sets of data types : original data and data cluster. Then the features were selected by Correlation – based Feature Selection (CFS) and Information Gain (IG). After that the “Prediction Model” was constructed by data mining techniques e.g. Neural Networks, Multi-layer Perceptron (MLP), Support Vector Machine (SVM) and Decision Tree Model. Finally, the model was compared by the Performance Test with a 10-fold Cross Validation. The results showed that the administrators, the department leaders, and the advisors were satisfied with the high school students’ data warehouse at a good level and, by using data mining techniques, the set of original data, for feature selection with correlation based feature selection (CFS) combining with a Multi-layer Perceptron Concept, provided the highest accuracy at 94.48 percent and the second root of the discrepancy was the least at 0.1880 which was suitable to construct the students prediction systemth_TH
Appears in Collections:Science Tech - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_148718.pdfเอกสารฉบับเต็ม20.02 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons