Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/338
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorขจิตพรรณ กฤตพลวิมานth_TH
dc.contributor.authorสุบิน บุณยมณี, 2514-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-09T02:58:31Z-
dc.date.available2022-08-09T02:58:31Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/338en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม. (เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2557th_TH
dc.description.abstractวัตถุประสงคของงานวิจัยนี้คือ 1) เพื่อสร้างระบบสมองกลฝังตวขนาดเล็กที่ทํางานร่วมกันเป็นเครือข่ายอีเทอร์เน็ต สําหรับควบคุมสั่งงานระบบส่งวิทยุเอฟเอ็มผ่านเว็บเพจ 2) เพื่อทดสอบและวิเคราะห์ประสิทธิภาพด้านการควบคุมระยะไกลระบบส่งวิทยเอฟเอ็มที่มีกำลังส่งออกอากาศสูงกระบวนการดำเนิน งานวิจัยนี้ประกอบด้วย 1) ออกแบบและสร้างวงจรระบบเครือข่าย สมองกลฝังตัวขนาดเล็กที่ทํางานร่วมกันระหว่างไมโครคอนโทรลเลอร์ dsPIC33 และไอซี ENC28J60 2) ทดสอบโมดูลควบคุมการทางานระบบส่งวิทยุเอฟเอ็มผ่านเว็บเพจ 3) วิเคราะห์ประสิทธิภาพการทางานของระบบเครือข่ายสมองกลฝังตัวขนาดเล็กด้านเวลาตอบสนองอัตราการไหลผ่านของข้อมูลความพร้อมใช้งานและตรวจสอบค่าความผิดพลาดทางความถี่ของระบบส่งวิทยเอฟเอ็มที่มีกำลังออกอากาศสูงเมื่อเชื่อมต่อกับบอร์ดควบคุม ผลการวิจัยได้ทําการเปรียบเทียบประสิทธิภาพการทำงานระบบเครือข่ายสมองกลฝังตัวขนาดเล็กที่ควบคุมจากไมโครคอนโทรลเลอร์ dsPIC33 และไมโครคอนโทรเลอร์ CIE-M10 พบว่าสามารถควบคุมระบบส่งวิทยุเอฟเอ็มได้ทั้งสองบอร์ด แต่ประสิทธิภาพทางด้านเวลาตอบสนองและด้านอัตราการไหลผ่านของข้อมูลของบอร์ด CIE-M10 สูงกว่า ส่วนด้านความพร้อมใช้งานและค่าความผิดพลาดทางความถี่มีค่าไม่แตกต่างกันมากนักอย่างไรก็ตามเมื่อเปรียบเทียบกับการใช้ไมโครคอนโทรลเลอร์บอร์ด ET-dsPIC33WEB V1 พบว่าบอร์ด CIE-M10 มีข้อจำกัดเรื่องจํานวนขาอินพุตดิจิทัลและอินพุตแอนะล็อกที่ถูกนํามาใช้ได้มีจํานวนน้อยกว่าทำให้ขาดความยืดหยุนในการใช้งานth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectไมโครคอนโทรลเลอร์th_TH
dc.subjectวิทยุกระจายเสียงth_TH
dc.titleการทดสอบและวิเคราะห์ประสิทธิภาพของระบบเครื่อข่ายสมองกลฝังตัวขนาดเล็ก สำหรับพัฒนาประสิทธิภาพระบบส่งวิทยุเอฟเอ็มth_TH
dc.title.alternativeTesting and analyzing the performance of small embedded network for developing FM transmitting system performanceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were 1) to implement the small embedded Ethernet network systems for remote controlling FM radio transmitting systems via web page and 2) to test and analyze performances of remotely-controlled high power FM radio transmitting systems. Research methodology includeed 1) designing and implementing the small embedded Ethernet network systems with cooperating between dsPIC33 microcontroller board and ENC28J60 embedded Ethernet controller chip 2) testing the web-based remote controlling module on FM radio transmitting systems and 3) analyzing the performances of small embedded Ethernet network systems regarding response time, throughput, availability and frequency errors of high power FM radio transmitting systems when interfacing with the small embedded Ethernet network systems. Performances of small embedded Ethernet network systems implemented by dsPIC33 and CIE-M10 microcontroller boards were compared in this research. It was found that both microcontroller boards could remotely control FM radio transmitting systems effectively. Although, response time and throughput performances of CIE-M10 microcontroller board were slightly higher than dsPIC33 microcontroller board, the availability and frequency error performances of both boards were not much different. However, when comparing with the ETdsPIC33WEB V1 microcontroller board, there were less of digital and analog inputs available for CIE-M10 microcontroller board as its constraint for further implementationen_US
dc.contributor.coadvisorอำนาจ ขาวเนth_TH
Appears in Collections:Science Tech - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_146565.pdfเอกสารฉบับเต็ม15.22 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons