Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/341
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | วิภา เจริญภัณฑารักษ์ | th_TH |
dc.contributor.author | สุรชาติ จันทสุวรรณ, 2512- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-08-09T03:32:46Z | - |
dc.date.available | 2022-08-09T03:32:46Z | - |
dc.date.issued | 2558 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/341 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วท.ม. (เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2558 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยระบบประเมินตนเองด้านเทคโนโลยีสารสนเทศโดยใช้หลักธรรมาภิบาลด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) วิเคราะห์และสังเคราะห์องค์ความรู้ของกระบวนการควบคุมภายในด้านเทคโนโลยีสารสนเทศตามมาตรฐานโคบิต 5.0 ที่เหมาะสมสำหรับธุรกิจทรัพยากร เพื่อเตรียมความพร้อมเข้าตลาดหลักทรัพย์ เอ็ม เอ ไอ แห่งประเทศไทย กลุ่มธุรกิจทรัพยากร (2) พัฒนาต้นแบบระบบประเมินตนเองโดยใช้องค์ความรู้ของกระบวนการควบคุมภายในด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ที่สังเคราะห์ขึ้นตามมาตรฐานโคบิต 5.0 ที่เหมาะสมสำหรับธุรกิจทรัพยากร (3) ประเมินความน่าเชื่อถือจากองค์ความรู้ของกระบวนการควบคุมภายในด้านเทคโนโลยีสารสนเทศจากต้นแบบที่สังเคราะห์ขึ้นการดำเนินการวิจัยมีขั้นตอนประกอบด้วย (1) ศึกษาธรรมาภิบาลด้านเทคโนโลยีสารสนเทศเกี่ยวกับมาตรฐานโคบิต 5.0 (2) วิเคราะห์กระบวนการการควบคุมภายในด้านเทคโนโลยีสารสนเทศของธุรกิจกลุ่มทรัพยากรจาก 3 แหล่งข้อมูล คือ 1) จากกรอบโคบิต 5.0 2) จากประสบการณ์ของผู้วิจัยในด้านเทคโนฯ 3) จากผู้ตรวจสอบบัญชีในองค์กรที่ได้รับความเห็นชอบจากสำนักงานก.ล.ต.จำนวน 3 องค์กรองค์กรละ 1 ท่านเพื่อกำหนดกรอบโคบิตที่เกี่ยวข้องและจำเป็นสำหรับกระบวนการการควบคุมภายในงานเทคโนโลยีสารสนเทศของธุรกิจกลุ่มทรัพยากร โดยโคบิตมีโดเมนทั้งหมด 5 โดเมน แต่ผลการวิเคราะห์พบว่ามีเพียง 2 โดเมนที่เกี่ยวข้องและจำเป็น คือ APO,BAI (3) สังเคราะห์องค์ความรู้ตามกรอบโคบิตที่วิเคราะห์ไว้จากโดเมน APO และ BAI พบว่ามีกระบวนการและกระบวนการย่อยใน APO ที่จำเป็นคือ APO01 (การบริหารจัดการกรอบการดำเนินงานการบริหารงานด้านไอที) APO07 (การบริหารจัดการทรัพยากรบุคคล) APO10 (บริหารจัดการผู้ขายหรือผู้ให้บริการ) APO12 (การบริหารจัดการความเสี่ยง) APO13 (การบริหารจัดการความมั่นคงปลอดภัย) ส่วน BAI มีกระบวนการและกระบวนการย่อยที่จำเป็นคือ BAI06 (การบริหารจัดการการเปลี่ยนแปลง) และ BAI09 (การบริหารจัดการสินทรัพย์) ซึ่งทั้ง APO และ BAI มีเอกสารที่เกี่ยวข้องในกระบวนการควบคุมภายในงานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่สำคัญคือ คู่มือปฏิบัติงาน งานประจำ และเอกสารไอที (4) พัฒนาต้นแบบระบบประเมินตนเองฯ ที่ใช้องค์ความรู้เกี่ยวกับกระบวนการควบคุมภายในที่วิเคราะห์และสังเคราะห์ขึ้น เครื่องมือที่ใช้ในการพัฒนาต้นแบบ ประกอบด้วย Start UML Version 5.0.2.1570 เพื่อใช้ในการวิเคราะห์ระบบฯ Microsoft Visual Studio Community 2015 เพื่อใช้พัฒนาโปรแกรมต้นแบบ และ SQL Server 2005 เพื่อใช้ในการจัดการฐานข้อมูล (5) ประเมินองค์ความรู้ในต้นแบบฯ ที่ได้พัฒนาขึ้นโดยกลุ่มอุตสาหกรรมทรัพยากร แบ่งเป็น 2 กลุ่มตัวอย่าง คือ 1) องค์กรที่ต้องการเตรียมความพร้อมเข้าตลาดจำนวน 1 องค์กร 2) องค์กรที่อยู่ในตลาดจำนวน 1 องค์กร โดยทดลองใช้งานระหว่าง วันที่ 21 มิถุนายน - 29 กรกฎาคม 2559 เครื่องมือประเมินผล คือ แบบสอบถามการควบคุมภายในด้านไอทีนำมาจากโดเมน APO และ BAI. ผลการวิจัยพบว่า (1) องค์ความรู้ที่ได้สังเคราะห์จากมาตรฐานโคบิต 5.0 ซึ่งมีทั้งหมด 5 โดเมน พบว่ามีเพียง 2 โดเมนที่เกี่ยวข้องและจำเป็นสำหรับกลุ่มธุรกิจทรัพยากร คือ APO และ BAI เท่านั้น (2) กระบวนการภายใน APO ที่เกี่ยวข้องคือ APO01 (การบริหารจัดการกรอบการดำเนินงานการบริหารงานด้านไอที) APO07 (การบริหารจัดการทรัพยากรบุคคล) APO10 (บริหารจัดการผู้ขายหรือผู้ให้บริการ) APO12 (การบริหารจัดการความเสี่ยง) APO13 (การบริหารจัดการความมั่นคงปลอดภัย) (3) มีกระบวนการภายใน BAI ที่เกี่ยวข้องคือ BAI06 (การบริหารจัดการการเปลี่ยนแปลง) และ BAI09 (การบริหารจัดการสินทรัพย์) (4)ผลการประเมินจากกลุ่มตัวอยางทั้ง 2 กลุ่ม พบว่า 1) ทั้งองค์กรที่อยู่ในตลาด และอยู่นอกตลาดมีกระบวนการควบคุมงานด้านไอทีภายใต้โดเมน APO และ BAI ซึ่งสอดคล้องตามองค์ความรู้ที่งานวิจัยสังเคราะห์ขึ้น แต่ขาดกระบวนการย่อยที่จำเป็นตามองค์ความรู้ที่ได้สังเคราะห์ขึ้นในงานวิจัยนี้ 2) องค์กรที่อยู่ในตลาดฯ มีกระบวนการควบคุมงานไอที ใกล้เคียงและสอดคล้องกับองค์ความรู้จากงานวิจัยนี้มากกว่าองค์กรที่นอกตลาดฯ | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | การประเมินตนเอง | th_TH |
dc.subject | เทคโนโลยีสารสนเทศ--การประเมิน | th_TH |
dc.title | ระบบประเมินตนเองด้านเทคโนโลยีสารสนเทศของบริษัทจดทะเบียนในกลุ่มทรัพยากรตามกรอบโคบิตเพื่อเตรียมความพร้อมในการเข้าตลาดหลักทรัพย์ เอ็ม เอ ไอ แห่งประเทศไทย | th_TH |
dc.title.alternative | Self-assessment in IT Domain of listed companies in the resources sector based on COBIT Framework for entry preparation to MAI of the Stock Exchange of Thailand | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The research of self-assessment system based on IT governance aimed to (1) analysis and synthesis knowledge assess their own IT departments based on the principles of Public Governance COBIT 5.0 suitable for resources industry to enter MAI (Market for Alternative Investment) Stock Exchange of Thailand (2) develop self-assessment of IT internal process control synthesized from COBIT 5.0 for resources industry (3) evaluate the reliability of the synthesized knowledge of IT internal process control. The research methodology was as follows; (1) Studied IT governance COBIT 5.0. (2) Analyzed IT internal process control for the resources industry based on 3 data sources: 1) COBIT 5.0; 2) IT Experiences of the researcher; 3) Three accounting auditors approved by the SEC(Securities and Exchange Commission) from three organizations to set and verify a framework of IT internal process control. Since COBIT has 6 domains, but the results showed that only two domains that were relevant and necessary referred to APO,BAI (3) Synthesized knowledge from COBIT. There were mandatory processes and sub-processes in APO such as APO01(Manage the IT management framework), APO07(Manage Human Resources), APO10 (Manage Suppliers), APO12(Manage Risk), APO13(Manage Security) and the mandatory processes and sub process in BAI were as follows; BAI06(Manage Changes), and BAI09(Manage Assets). APO and BAI , which required documents for IT internal control were consisted of work Manual, routine document and IT document. 4) Developed a prototype for IT self-assessment embedded synthesized knowledge extract from the experts and COBIT for the resource industry. The tools used to develop the system were Start UML Version 5.0.2.1570 for system analysis; Microsoft Visual Studio Community 2015 for development of a prototype and SQL Server 2005 for database management. (5) Evaluated of the prototype system were representatives from resource industry divided into two groups. 1) A representative from the organization was not in MAI or Market for Alternative Investment of Thailand. 2) A representative of the organization that was already in MAI Market for Alternative Investment of Thailand. Evaluation period was between 21 June -29 July, 2559. Evaluation tool was the questionnaire based on the context of APO and BAI domains. Research was shown that (1) From the synthesized knowledge from COBIT 5.0, there were only two domains out of totally six domains relevant and necessary for resources industry which were APO and BAI. (2) There were only some sub APO related such as APO01(Manage the IT management framework), APO07(Manage Human Resources), APO10(Manage Suppliers), APO12(Manage Risk), APO13(Manage Security). (3) The relevant sub BAI required for the resource industry were BAI06(Manage Changes) and BAI09(Manage Assets) (4) an evaluation by the two groups of respondents were validated that 1) both groups had confirmed to the research findings that only two domains, APO and BAI, were necessary processes (2) the organizations that are in MAI have IT process in more systematic manners based on COBOT 5 and the synthesized extract knowledge than the one which was not in MAI explicitly | en_US |
dc.contributor.coadvisor | สันติพัฒน์ อรุณธารี | th_TH |
Appears in Collections: | Science Tech - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
fulltext_153216.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 20.12 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License