Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/345
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorขจิตพรรณ กฤตพลวิมาน, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorเตชค์ฐสิณป์ เพียซ้าย, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorอนุกูล ศรีวรรณ, 2523--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-09T03:58:06Z-
dc.date.available2022-08-09T03:58:06Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/345-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.(เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2560th_TH
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับความต้องการการบริหารจัดการข้อมูลออนไลน์ที่ดีภายในองค์กร 2) ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีคลาวด์สตอเรจเพื่อติดตั้งระบบบริหารจัดการทรัพยากรออนไลน์ และ 3) วิเคราะห์การบริหารจัดการทรัพยากรออนไลน์ด้วยเทคโนโลยีคลาวด์สตอเรจ งานวิจัยนี้มีการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีคลาวด์สตอเรจ มีการวิเคราะห์อัตราเร็วในการ รับส่งข้อมูลและภาระโหลดการจราจรเครือข่ายโดยใช้ Cacti AWStats และ Google’s PageSpeed Insights สำหรับเป็นเครื่องมือวิเคราะห์ประสิทธิภาพการทำงานของระบบ มีการประเมินประสิทธิภาพระบบบริหารจัดการทรัพยากรออนไลน์โดยใช้เทคโนโลยีคลาวด์สตอเรจจากกลุ่มตัวอย่างด้วยแบบสอบถาม โดยวิธีการเลือกแบบเจาะจงจากบุคลากรคณะเศรษฐศาสตร์และบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตสงขลา ซึ่งได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 32 คน จากการศึกษาพบว่าระดับความต้องการการบริหารจัดการข้อมูลออนไลน์ที่ดีอยู่ในระดับมากและหลังจากนำเทคโนโลยีคลาวด์สตอเรจมาประยุกต์ใช้ ข้อมูลส่วนใหญ่ที่มีการใช้งานเป็นงานวิชาการ จากการใช้งานเดือนกุมภาพันธ์-สิงหาคม 2560 พบว่า เดือนมิถุนายนเข้าถึงระบบ สูงสุดร้อยละ 38.96 (มีการใช้งานแบนด์วิดท์ร้อยละ 46.74 ของการใช้งานทั้งหมด) และมีค่าเฉลี่ยภาระโหลดการจราจรทั้งเดือน 20.10 กิโลบิตต่อวินาทีสรุปผลจากการวิจัยคือ คุณลักษณะของระบบบริหารจัดการทรัพยากรออนไลน์สามารถตอบสนองความต้องการใช้งาน โดยไม่สิ้นเปลืองทรัพยากร ใช้งานง่าย สะดวกสำหรับผู้ใช้งานในการเข้าถึงโดยการล็อกอินจากระยะไกลผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต โครงสร้างระบบบริหารจัดการทรัพยากรออนไลน์และฐานข้อมูลออกแบบมาให้ใช้งานง่าย ไม่ซับซ้อน มีการรักษาความปลอดภัยของข้อมูลโดยใช้ไฟร์วอลล์และการล็อกอินเข้าใช้งานth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectคลาวด์คอมพิวติงth_TH
dc.subjectการจัดการทรัพยากรสารสนเทศth_TH
dc.titleการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีคลาวด์สตอเรจสำหรับบริหารจัดการทรัพยากรออนไลน์ กรณีศึกษาคณะเศรษฐศาสตร์และบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตสงขลาth_TH
dc.title.alternativeApplication of cloud storage technology for online resource management : a case study of Faculty of Economics and Business Administration Thaksin University Songkhla Campusth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชen_US
dc.description.abstractalternativeThis research aimed to 1) study the requirement level of online resource management within the organization; 2) apply the cloud storage technology for setting up the online resource management systems, and 3) analyze the online resource management with cloud storage technology. This research applied the cloud storage technology. Data transmission rate and network traffic load were analyzed using Cacti, AWStats and Google’s PageSpeed Insights as system performance analysis tools. The system performances of online resource management using cloud storage technology were evaluated by questionnaires. By the selective method, 32 user samples were selected from members of the Faculty of Economics and Business Administration, Thaksin University Songkhla campus This study found that the demand for online information management was high. After implementing cloud storage technology, the most usage data was academic work. During February to August 2017 of the system implementation, the study showed that the most frequently access was 38.96 percentage in June (the bandwidth usage reached 46.74 percentage of total usage), and an average traffic load was 20.10 kbps. In conclusion, the online resource management system using cloud storage technology could be able to response user requirement with less system resource consumption, easy and convenient for user to be accessed by remotely-login via the internet. The system structure and database were designed to be simple and easy to understand for users. In addition, data security was maintained by using firewalls and login featureen_US
Appears in Collections:Science Tech - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_158610.pdfเอกสารฉบับเต็ม20.99 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons