Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3506
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสิริพันธ์ พลรบ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorต่อพล ออเขาย้อย, 2504--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-02-25T09:25:44Z-
dc.date.available2023-02-25T09:25:44Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3506-
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระ เรื่อง “ข้อยกเว้นมิให้ใช้พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 บังคับ เฉพาะกรณีการดำเนินงานเกี่ยวกับราชการทหาร” มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาหลักวิธีการดำเนินงานเกี่ยวกับราชการทหารในประเทศไทย กษาแนวคิดเกี่ยวกับหลักความชอบด้วยกฎหมายของการดำเนินงานเกี่ยวกับราชการทหาร ศึกษาแนวคิดเกี่ยวกับข้อยกเว้น มิให้ใช้พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 บังคับในกรณีการดำเนินงานเกี่ยวกับราชการทหาร และเสนอแนวทางการดำเนินงานเกี่ยวกับราชการทหารภายใต้บังคับพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ด้วยวิธีการวิจัยเอกสาร โดยศึกษาค้นคว้าจากตัวบทกฎหมาย หลักกฎหมายในกระบวนการยุติธรรมทางปกครอง หนังสือ ตำรา วิทยานิพนธ์ บทความในเว็บไซต์ที่เกี่ยวข้องมาวิเคราะห์ร่วมกัน ผลการศึกษาพบว่า โดยทั่วไปหลักความชอบด้วยกฎหมายของราชการทหารต้องเป็นไปตามหลักที่ว่า การดำเนินการต้องเป็นไปตามกฎหมาย และกฎหมายที่อยู่ในลำดับต่ำกว่าจะต้องไม่ขัดต่อกฎหมายที่อยู่สูงกว่าเสมอ และในทางทหารกฎหมายสูงสุดคือรัฐธรรมนูญ และลำดับสูงสุดคือ คําสั่งทางทหาร โดยมีพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง กฎหมายกลางที่ควบคุมการปฏิบัติราชการทหารเฉพาะกรณีที่มีลักษณะเป็นการดำเนินการทางปกครองไว้อีกชั้นหนึ่ง แต่ยังมีความไม่ชัดเจนเกี่ยวกับการอธิบายขอบเขตการใช้บังคับกฎหมายดังกล่าว ผลการศึกษาค้นคว้าอิสระพบว่าเห็นควรแก้ไขบทบัญญัติมาตรา 4 (7) แห่งพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 ดังนี้ มาตรา 4(7) “การดำเนินงานเกี่ยวกับราชการทหารเฉพาะการป้องกันและรักษาความมั่นคงของราชอาณาจักรจากภัยคุกคามทั้งภายนอกและภายในประเทศ รวมทั้งเจ้าหน้าที่ซึ่งปฏิบัติหน้าที่ทางยุทธการร่วมกับทหารในการดำเนินงานดังกล่าวเพื่อให้เกิดความชัดเจนยิ่งขึ้นth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายมหาชน--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการทหารth_TH
dc.subjectทหาร--กฎและการปฏิบัติth_TH
dc.subjectพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539th_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--กฎหมายมหาชนth_TH
dc.titleข้อยกเว้นมิให้ใช้พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางการปกครอง พ.ศ. 2539 บังคับเฉพาะกรณี การดำเนินงานเกี่ยวกับราชการทหารth_TH
dc.title.alternativeThe exception of the Administrative Procedure Act, B.E. 2539 in case of military operationsth_TH
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis independent study titled "The Exception of the Administrative Procedure Act, B.E. 2539 in Case of Military Operations" was aimed to study the way of military operations and legality of military service in Thailand, the exception of the application of the Administrative Procedure Act, B.E. 2539 in case of military operations, and to provide operational guidance on military force under the Administrative Procedure Act, B.E. 2539. This independent study was a qualitative and documentary research from provisions of law, general principle of administrative law, textbooks, thesis and articles from websites, in order to make an analytical consideration. The results of an independent study found that the military service is considered legality if it operates under the scope of law according to its hierarchy from the supreme law that is the Constitution to the military command. The Administrative Procedure Act, B.F. 2539 is a general law that regulates the conduct of military service of administrative character, which means the military operations. However, the relevant provision of law is still ambiguous. The results proposed that the provision of Section 4 (7) of the Administrative Procedure Act, B.E. 2539 should be amended as follows: Section 4 (7) "on military operations only to protect and maintain its stability of kingdom from threats both external and internal including the conduct of officials under the duty with the military in such operations"en_US
Appears in Collections:Law-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม24.95 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons