Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/351
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสมใจ พุทธาพิทักษ์ผล, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorรสสุคนธ์ แสงมณี, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorเพ็ญศิริ สิริกุล, 2521--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-09T05:28:28Z-
dc.date.available2022-08-09T05:28:28Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/351-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2557th_TH
dc.description.abstractการวิจัยแบบกึ่งทดลองนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการใช้รูปแบบการดูแลผู้ป่วย โรคปอดอุดกั้นเรื้อรังในชุมชน หลังจำหน่ายจากโรงพยาบาลสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส ต่ออัตราการได้รับการเยี่ยมบ้าน อัตราการกำเริบของโรคเฉียบพลัน และอัตราการเข้ารักษาซ้ำก่อน 28 วัน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ได้แก่ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ใน อำเภอสุไหงปาดี หมู่บ้านละ 1 คน จำนวน 5 คน และผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังที่เข้ารับการรักษา ในแผนกผู้ป่วยในและจำหน่ายจากโรงพยาบาลสุไหงปาดี จำนวน 41 คน เป็นกลุ่มทดลอง 17 คน ที่ได้รับรูปแบบการดูแลผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังในชุมชน และกลุ่มควบคุม 24 คน ที่ได้รับการดูแลตามปกติ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ คู่มือการดูแลสุขภาพผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังสำหรับอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) แบบทดสอบความรู้เกี่ยวกับการดูแลผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังหลังจำหน่าย และสมุดบันทึกประจำตัวผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง ซึ่งผู้วิจัยสร้างขึ้น ผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิ 5 ท่าน วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ จำนวน ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ Z- test ผลการวิจัยพบว่า 1) อัตราการได้รับการเยี่ยมบ้านของผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังในกลุ่มทดลองที่สูงกว่า ผู้ป่วยในกลุ่มควบคุม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P<0.001) 2) อัตราการกำเริบของโรคเฉียบพลันของผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง ในกลุ่มทดลอง และในกลุ่มควบคุมไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P<0.05) และ 3) อัตราการเข้ารักษาซ้ำก่อน 28 วัน ของผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง ในกลุ่มทดลองต่ำกว่าผู้ป่วยในกลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P<0.001)th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2014.126en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectปอด--โรคth_TH
dc.subjectปอดอุดกั้น--ผู้ป่วย--การดูแลth_TH
dc.subjectผู้ป่วยโรคเรื้อรัง--การดูแลth_TH
dc.titleผลของรูปแบบการดูแลผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังในชุมชนหลังจำหน่ายจากโรงพยาบาลสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาสth_TH
dc.title.alternativeThe effects of a caring model for patients with chronic obstructive pulmonary disease in communities after discharged from Sungaipadi Hospital, Narathiwat Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2014.126en_US
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this quasi-experimental research were: to examine the effects of a caring model for patients with chronic obstructive pulmonary disease (COPD) in communities after discharged from Sungaipadi Hospital, Narathiwat Province on home health care rate, acute exacerbations rate, and readmission rate. The sample consisted of fifty Village Health Volunteers of Sungai padi district, Narathiwat Province and forty-one chronic obstructive pulmonary disease patients who were discharged from Sungaipadi Hospital. The 24 patients were assigned into two groups: the control group (24) and the experimental group (17). The research instruments, developed by the researcher, were a guideline of home health care for COPD patients, and this guideline was used by health volunteers, a knowledge test about caring for patients with COPD, and a personal health record for each COPD patient. Content validity of the instruments was examined by five experts. Data were analyzed by percentage, mean, standard deviation, and Z- test. The results showed as follows. 1) The home health care rate of COPD patients in the experimental group was significantly higher than those in the control group 2) There was no significantly different in the acute exacerbations rate of the patients in both experimental group and control group 3) The readmission rate of the patients in the experimental group was significantly lower than those in the control groupen_US
Appears in Collections:Nurse-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม16.82 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons