Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3598
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ชัยวัฒน์ คงสม, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.advisor | อิงอร ไชยเยศ, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.author | นัทวุฒิ อินทรรุจิกุล, 2528- | - |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-03-01T07:18:10Z | - |
dc.date.available | 2023-03-01T07:18:10Z | - |
dc.date.issued | 2563 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3598 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (กษ.ม.(การจัดการการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2563 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อเปรียบเทียบผลร่วมระหว่างวัสดุเพาะและวิธีการเพาะชำต่ออัตราการงอก ระยะเวลาการงอก และความพร้อมในการย้ายชำของกล้าหวายฝาด และ 2) เพื่อศึกษาวัสดุเพาะและวิธีการเพาะชำเมล็ดหวายฝาดที่เหมาะสม การวิจัยเป็นการวิจัยเชิงทดลอง ใช้แผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์และจัดทรีทเม้นท์ แบบ 4×4 แฟคทอเรียล จำนวน 16 ทรีทเม้นท์คอมบิเนชั่น จำนวน 3 ซ้า รวม 48 หน่วยทดลอง วัสดุเพาะได้แก่ ทราย แกลบดำ ขี้เลื่อย ขุยมะพร้าว และวิธีการเพาะชำได้แก่ การใช้เมล็ดไม่แคะตาและคลุมพลาสติก การใช้เมล็ดไม่แคะตาและไม่คลุมพลาสติกกับเมล็ดแคะตา การใช้เมล็ดแคะตาและคลุมพลาสติก และการใช้เมล็ดแคะตาและไม่คลุมพลาสติก วิเคราะห์ความแปรปรวนและวิเคราะห์ความแตกต่างโดยใช้ LSD การศึกษาวัสดุเพาะและวิธีการเพาะชำที่เหมาะสมใช้ค่าถ่วงน้ำหนักและมาตรวัดแบบลิเคิร์ท ผลการศึกษาพบว่า 1) ผลของการใช้ทรายเป็นวัสดุเพาะกับวิธีการเพาะชำที่ใช้เมล็ดไม่แคะตาและคลุมพลาสติกหรือไม่คลุมพลาสติกทำให้อัตราการงอกเฉลี่ยของเมล็ดหวายฝาดสูงถึงร้อยละ 71.67 และ 70.33 ตามลำดับ (p<0.05) ผลของการใช้ขุยมะพร้าวกับวิธีการเพาะชำที่ใช้เมล็ดแคะตาและไม่คลุมพลาสติก และการใช้แกลบดำกับวิธีการเพาะชาที่ใช้เมล็ดแคะตาและไม่คลุมพลาสติกทาให้ระยะเวลาในการงอกเฉลี่ยของเมล็ดหวายฝาดสั้นเพียง 63.75 และ 83.66 วัน ตามลาดับ (p<0.05) ส่วนผลของการใช้ทรายกับวิธีเพาะชาที่ใช้เมล็ดไม่แคะตาและไม่คลุมพลาสติก การใช้ทรายกับวิธีเพาะชำที่ใช้เมล็ดแคะตาและไม่คลุมพลาสติก การใช้แกลบดำกับวิธีเพาะชำที่ใช้เมล็ดไม่แคะตาและไม่คลุมพลาสติก การใช้ขี้เลื่อยกับวิธีเพาะชำที่ใช้เมล็ดไม่แคะตาและคลุมพลาสติก การใช้ขุยมะพร้าวกับวิธีเพาะชำที่ใช้เมล็ดไม่แคะตาและคลุมพลาสติก การใช้ขี้เลื่อยกับวิธีเพาะชำที่ใช้เมล็ดไม่แคะตาและไม่คลุมพลาสติก การใช้แกลบดำกับวิธีเพาะชำที่ใช้เมล็ดไม่แคะตาและคลุมพลาสติก การใช้ทรายกับวิธีเพาะชำที่ใช้เมล็ดไม่แคะตาและคลุมพลาสติก และการใช้ขุยมะพร้าวกับวิธีเพาะชำที่ใช้เมล็ดไม่แคะตาและไม่คลุมพลาสติก ทำให้ความพร้อมในการย้ายชำของหวายฝาดใช้เวลาเฉลี่ยระหว่าง 7.00 – 7.49 วัน (p<0.05) 2) การใช้ทรายผสมวิธีการเพาะชำที่ใช้เมล็ดไม่แคะตาและคลุมพลาสติก หรือไม่คลุมพลาสติก และการใช้ขุยมะพร้าวผสมวิธีการเพาะชำที่ใช้เมล็ดไม่แคะตาและคลุมพลาสติก มีความเหมาะสมในระดับมากสำหรับการเพาะชำเมล็ดหวายฝาด | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการจัดการการเกษตร--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | หวายฝาด--การชำ | th_TH |
dc.subject | การงอกของเมล็ด | th_TH |
dc.title | ผลของวัสดุเพาะและวิธีการเพาะชำที่มีต่อการงอกของเมล็ดหวายฝาด | th_TH |
dc.title.alternative | Effects of sowing media and seeding methods on seed germination of Daemonorops lewissiana (Griff.) Mart. | th_TH |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | เกษตรศาสตรมหาบัณฑิต (การจัดการทรัพยากรเกษตร) | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | This research aims 1) to compare the interaction between sowing medias and seeding methods on germination rate, germination duration and readiness to move of Daemonorops lewissiana (Griff.) Mart (Wai Fad) seedling. , and 2) to find sowing media and seeding method that suitable. The experimental research use a complete randomized design with 4 × 4 factorial and 16 treatment combinations, 3 replications, 48 units. Sowing medias were sand, rice husk charcoal, sawdust, and coconut coir. Seeding methods consist of ; seed with none opening the embryo membrane and plastic covering, seed with none opening the embryo membrane and none plastic covering, seed with opening the embryo membrane and plastic covering, and seed with opening the embryo membrane and none plastic covering. Analysis of variance and Least Significant Difference (LSD) were used. Weighting factor and Likert scale were used to find sowing media and seeding method that suitable. The results showed that 1) the effect of using sand as a sowing media and seed with none opening the embryo membrane and covering plastic or not covering plastic as seedling methods, resulted in highly average germination rates of 71.67% and 70.33% respectively ( p<0.05 ). The effect of using coconut coir and seed with opening the embryo membrane and not covering plastic, and rice husk charcoal and seed with opening the embryo membrane and not covering plastic, shortened the average germination duration by 63.75 and 83.66 days, respectively( p<0.05 ). As for the effect of applying; sand and seed with none opening the embryo membrane and not covering plastic; sand and seed with opening the embryo membrane and not covering plastic; rice husk charcoal and seed with none opening the embryo membrane and not covering plastic; sawdust and seed with none opening the embryo membrane and covering plastic; coconut flakes and seed with none opening the embryo membrane and covering plastic; sawdust and seed with none opening the embryo membrane and not covering plastic; rice husk charcoal and seed with none opening the embryo membrane and covering plastic; sand and seed with none opening the embryo membrane and covering plastic; coconut flakes and seed with none opening the embryo membrane and not covering plastic, the average readiness to transfer of seedling takes between 7.00 and 7.49 days(p<0.05). and 2) the use of sand and seed with none opening the embryo membrane and covering plastic or not covering plastic and the use of coconut coir and seed with none opening the embryo membrane and covering plastic were highly suitable | en_US |
Appears in Collections: | Agri-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
FULLTEXT.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 23.59 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License