Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/362
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวิภา เจริญภัณฑารักษ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorปานจิต มุสิก, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorเอกวุฒิ เพชรทองด้วง, 2525--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณทิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-09T07:41:23Z-
dc.date.available2022-08-09T07:41:23Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/362-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.(เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2560th_TH
dc.description.abstractงานวิจัยนี้นำเสนอการพัฒนาแบบจำลองทิศทางการไหลของน้้าบนพื้นผิวระดับสูงเชิงเลขสำหรับการพยากรณ์และการเตือนภัยน้้าท่วมจังหวัดนครศรีธรรมราช ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาแบบจำลองทิศทางการไหลของน้้าบนพื้นผิวระดับสูงเชิงเลข สำหรับการพยากรณ์และการเตือนภัยน้้าท่วมจังหวัดนครศรีธรรมราช 2) ประเมินแบบจำลองทิศทางการไหลของน้้าบนพื้นผิวระดับสูงเชิงเลขสำหรับการพยากรณ์และการเตือนภัยน้้าท่วมจังหวัดนครศรีธรรมราช วิธีดำเนินการวิจัยประกอบด้วยการศึกษาลักษณะการระบายน้้า การวิเคราะห์ทิศทางการไหล การวิเคราะห์การไหลสะสม และการวิเคราะห์ขอบเขตของลำน้้า พื้นที่ศึกษา คือ ลุ่มน้้าคลองกลาย คลองท่าทน และคลองสาขาย่อย ในเขตพื้นที่อำเภอท่าศาลา อำเภอนบพิต้า และ อำเภอสิชล จังหวัดนครศรีธรรมราช ด้วยกฎการไหล 8 ทิศทาง (D8) กับกฎเซลลูลาร์ ออโตเมต้า เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ข้อมูลแบบจำลองพื้นผิวระดับสูงเชิงเลข มาตราส่วน 1:50,000 ของ กรมแผนที่ทหาร โปรแกรมที่ใช้ ได้แก่ Mathematica และ ArcGIS 10.2 ประเมินผลแบบจำลอง โดยการเปรียบเทียบกับขอบเขตแหล่งน้้าจากฐานข้อมูล Google Map ผลการวิจัยพบว่าแบบจำลองทิศทางการไหลของน้้าบนพื้นผิวระดับสูงเชิงเลข พื้นที่ลุ่มน้้าคลองกลายและพื้นที่ลุ่มน้้าคลองท่าทนสอดคล้องกับความเป็นจริง ประเมินผลแบบจำลองทิศทางการไหลด้วยวิธีการเปรียบเทียบกับขอบเขตแหล่งน้้าจากฐานข้อมูล Google Map แทนการออกสำรวจขอบเขตแหล่งน้้าในพื้นที่จริง จากการเปรียบเทียบดังกล่าวสามารถพิสูจน์เบื้องต้นได้ว่าทิศทางการไหลบริเวณแหล่งน้้าที่ได้จากการพัฒนาแบบจำลองมีความสอดคล้องกับทิศทางการไหลบริเวณ แหล่งน้้าในสภาพจริง ผลการเปรียบเทียบแสดงให้เห็นว่าข้อมูลแหล่งน้้าจากการนำทิศทางการไหลของน้้าที่ได้จากการพัฒนาไปหาขอบเขตแหล่งน้้ามีความสอดคล้องกับข้อมูลแหล่งน้้าจากฐานข้อมูล Google Map โดยข้อมูลจากทั้ง 3 ส่วนมีลักษณะทิศทางการไหลไปในแนวเดียวกัน ไม่มีการเกิดการขาดหายของเส้นทางน้้าแต่อย่างใด สามารถกำหนดจุดระบายน้้าเมื่อเกิดการสะสมของปริมาณน้้าจำนวนมากของพื้นที่ที่ศึกษาได้ ข้อเสนอแนะสำหรับการวิจัยควรมีการออกภาคสนามเพื่อเก็บข้อมูล ที่เป็นปัจจุบัน จะทำให้แบบจำลองมีประสิทธิภาพถูกต้องแม่นยำมากยิ่งขึ้นth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectแบบจำลองทางชลศาสตร์th_TH
dc.subjectพยากรณ์น้ำท่วม--ไทย--นครศรีธรรมราชth_TH
dc.titleการพัฒนาแบบจำลองทิศทางการไหลของน้ำบนพิ้นผิวระดับสูงเชิงเลขสำหรับการพยากรณ์และการเตือนภัยน้ำท่วมจังหวัดนครศรีธรรมราชth_TH
dc.title.alternativeModel development in direction of water flow on the surface DEM for flood forecasting and early warning of Nakhon Si Thammarat Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชen_US
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to 1) develop the Digital Elevation Model (DEM) for flood forecasting and warning in Nakhon Si Thammarat and 2) evaluate the Digital Elevation Model (DEM) for flood forecasting and warning in Nakhon Si Thammarat. The research method consisted of studying the drainage characteristics analyzing the water flow direction, flow accumulation, and watershed delineation. Research areas covering in Klong Kraii watershed, Ta Ton Klong and other branches of Thasala district, Nopphitam district and Sichon district of Nakhon Si Thammarat Province were analyzed by using D8 algorithm and cellular automata. Research tools were the information of 1:50,000 DEM of Royal Thai Survey Department, Mathematica and ArcGIS 10.2 programs. Model evaluation compared the source waters with the Google map database. The research showed that the DEM of Klong Kraii watershed and Ta Ton Klong conformed to the real water flow. For the result of comparing the DEM to the watershed delineation from Google map database instead of surveying the water sources in the real areas, it indicated primarily that the flow direction of the water sources gained from the DEM conformed to the flow direction of the water sources in the real areas. It also showed that the information of the water sources gained from the DEM to find the watershed delineation conformed to the information of the water sources gained from the Google map website. The result showed that water from all three ways flowed similarly and there was no any missing water route. With this result, drain marking can be specified when there was enough water accumulation in the areas that were studied. For the suggestion, the field survey should be applied to collect the recent data for more effective and accurate of the DEMen_US
Appears in Collections:Science Tech - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_158624.pdfเอกสารฉบับเต็ม9.06 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons