Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3635
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเฉลิมศักดิ์ ตุ้มหิรัญ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorจินดา ขลิบทอง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorชฎารัตน์ พรหมศิลา, 2531--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-03-02T02:54:04Z-
dc.date.available2023-03-02T02:54:04Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3635-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (กษ.ม.(ส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2562th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ปัจจัยพื้นฐานข้อมูลส่วนบุคคล เศรษฐกิจ และสังคมของเกษตรกร 2) กระบวนการผลิตทุเรียน 3) ความคิดเห็นเกี่ยวกับความสำคัญของกระบวนการผลิตทุเรียน 4) ปัญหาและข้อเสนอแนะ 5) ความต้องการความรู้และวิธีการส่งเสริมการผลิตทุเรียนของเกษตรกร ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือ เกษตรกรผู้ปลูกทุเรียนที่ขึ้นทะเบียนเกษตรกรกับสำนักงานเกษตรจังหวัดชุมพร ปี 2561 จำนวน 23,170 คน กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้สูตรของ ทาโร่ ยามาเน่ ที่ระดับความคลาดเคลื่อน 0.06 ได้ตัวอย่างจำนวน 274 คน สุ่มตัวอย่างแบบง่าย วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูป สถิติที่ใช้ ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าตํ่าสุด ค่าสูงสุด ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การจัดอันดับ และการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา ผลการวิจัย พบว่า 1) เกษตรกรส่วนใหญ่เป็นเพศชาย อายุเฉลี่ย 51.70 ปี จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย มีประสบการณ์ในการปลูกทุเรียนเฉลี่ย 14.67 ปี มีรายได้จากการทำอาชีพในภาคการเกษตรเฉลี่ย 423,193.43 บาทต่อปี ต้นทุนในการผลิตทุเรียน ในปี 2561 เฉลี่ย 17,605.33 บาทต่อไร่ เป็นสมาชิกกลุ่มของธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร รับรู้ข้อมูลข่าวสารทางการเกษตรจากเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตร 2) เกษตรกรส่วนใหญ่ปลูกทุเรียนพันธุ์หมอนทอง ลักษณะพื้นที่ปลูกเป็นที่ราบและที่ลาดชัน ปลูกทุเรียนด้วยวิธีการขุดหลุม วางระบบนํ้าและใช้ระบบนํ้าแบบสปริงเกอร์ ใช้ปุ๋ยเคมีร่วมกับปุ๋ยอินทรีย์ เก็บเกี่ยวผลผลิตช่วงเดือนกรกฎาคมถึงสิงหาคมของปี โดยใช้การนับอายุ จำหน่ายผลผลิตแบบเหมาสวนให้กับล้ง 3) ระดับความสำคัญของปัจจัยที่มีผลต่อการผลิตทุเรียน พบว่าเกษตรกรให้ความสำคัญในระดับมากที่สุด ได้แก่ การป้องกันกำจัดโรคพืช การดูแลรักษาในระยะออกดอกถึงระยะก่อนการเก็บเกี่ยว และการผลิตทุเรียนตามมาตรฐาน GAP 4) ปัญหาและข้อเสนอแนะในการผลิตทุเรียนเกี่ยวกับการใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน การจัดการศัตรูพืชและโรคพืช และการจัดการระบบนํ้าในแปลง 5) เกษตรกรมีความต้องการความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีการผลิตทุเรียนคุณภาพ และการจัดการแมลงศัตรูพืชและโรคพืช ทางช่องทางสื่อบุคคล และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ต้องการวิธีการส่งเสริมโดยการบรรยาย สาธิต ฝึกปฏิบัติ และทัศนศึกษาth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectทุเรียน--ไทย--ชุมพร--การผลิต.th_TH
dc.titleความต้องการการส่งเสริมการผลิตทุเรียนของเกษตรกร ในจังหวัดชุมพรth_TH
dc.title.alternativeExtension needs of durian production for farmers in Chumphon Provinceth_TH
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameเกษตรศาสตรมหาบัณฑิต (ส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research was to study durian farmers in the fallowing issues 1) basic personal social – economic factors, 2) durian production process, 3) opinions on importance of durian production, 4) problems and suggestions, and 5) needs in knowledge and extension methods for producing durian. The population consisted of 23,170 durian farmers who registered with the Chumphon Provincial Agricultural Extension Office in 2018. The samples were 274 persons determined by the Taro Yamane formula with the toterance of 0.06 and simple random sampling method. The data were analyzed by computer program. The statistics used were frequency, percentage, minimum, maximum, mean, standard deviation, ranking, and content analysis. The results of the research revealed that 1) Most of the farmers were males with an average age of 51.70 years, and finished high secondary school. They had average durian production experience of 14.67 years with average income from agricultural career of 423,193.43 baht per year, and had the cost of durian production in 2018 of 17,605.33 baht per rai. They were also a member of the Bank for Agriculture and Agricultural Cooperatives and received agricultural information from agricultural extension officials. 2) Most of the farmers grew Monthong durian variety with plain and steep planted areas. The durians were grown by digging holes, installing watering system with the sprinkler and using both chemical and organic fertilizer. Durian were harvested from July to August using age counting, sold wholesale to Luong (Packing House). 3) Farmers’ opinions on the most importance level of factors affecting durian production were prevention and elimination of plant diseases, treatment from flowering to pre-harvest periods, and durian production according to GAP standards. 4) Problems and suggestions in the durian production were related to fertilizer application based on soil testing, pest and plant disease management, and watering system management in the field. 5) Farmers needed knowledge about technology in quality durian production, and management of pest and plant diseases, by the channels of personal media and electronic media, and needed extension methods by lecture, demonstration, practice, and field tripen_US
Appears in Collections:Agri-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม19.7 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons