Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3643
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorโสภนา สุดสมบูรณ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสุทธิวรรณ ตันติรจนาวงศ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorศิริลักษณ์ ยะโสธร, 2512--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-03-02T03:33:23Z-
dc.date.available2023-03-02T03:33:23Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3643-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (บริหารการศึกษา)) -- มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2563th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) พฤติกรรมผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษา 2) แรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครูและ 3) ความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษากับแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครโรงเรียนในสังกัดองคกรปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัดสุโขทัย ผลการวิจัยพบว่า 1) พฤติกรรมผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษาในโรงเรียนสังกัดองคกรปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัดสุโขทัยในภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก โดยเรียงลำดับจากมากไปน้อย ดังนี้ (1) พฤติกรรมผู้นำแบบกิจสัมพันธ์และ (2) พฤติกรรมผู้นำแบบมิตรสัมพันธ์ 2) แรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครูในภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า (1) ปัจจัยจูงใจ เรียงลำดับจากมากไปน้อย ดังนี้ ด้านความสำเร็จของงาน ด้านความรับผิดชอบ ด้านลักษณะของงานที่ปฏิบัติุ๊ดานการยอมรับนับถือ และด้านความก้าวหน้าในการทำงานตามลำดับ และ (2) ปัจจัยเกี่อหนุน โดยเรียงลำดับจากมากไปน้อย ดังนี้ ด้านความสัมพันธ์ระหว่าง บุคคล ด้านการปกครองบังคับบัญชา ด้านนโยบายการบริหาร ด้านสภาพการทำงานและด้านผลประโยชน์ตอบแทนตามลำดับ และ3) พฤติกรรมผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษามีความสัมพันธ์เชิงบวกกับแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครูในระดับสูง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่.01.th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --วิทยานิพนธ์.th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารการศึกษา --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectพฤติกรรมการบริหารth_TH
dc.subjectครู--การทำงานth_TH
dc.subjectแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์th_TH
dc.subjectผู้บริหารโรงเรียน--ไทย--การทำงาน.th_TH
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษากับแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครูโรงเรียนในสังกัดองค์กรบริหารส่วนท้องถิ่น จังหวัดสุโขทัยth_TH
dc.title.alternativeThe relationship between the leadership behavior of school administrators and performance motivation of teachers in schools under the Local Government of Sukhothai Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were 1) to study the leadership behavior of school administrators; 2) to study the performance motivation of teachers; and 3) to study the relationship between the leadership behavior of school administrators and the performance motivation of teachers under the Local Government of Sukhothai province. The sample consisted of 265 teachers in schools under the Local Government of Sukhothai province. The sample size was determined using Krejcie and Morgan's tables. The samples were then obtained by stratified random sampling based on school size. The employed research instrument was a questionnaire dealing with the leadership behavior of the school administrators and the performance motivation of teachers with reliability coefficients of .95 and .95, respectively. The statistics employed for data analysis were the frequency, percentage, mean, standard deviation and Pearson correlation coefficient. The research findings were as follows: 1) overall and specific aspects of leadership behavior of school administrators under the Local Government of Sukhothai province were rated at the high level could be ranked based on their rating means as follows: the initiating structure behavior, and the consideration behavior; 2) overall and specific aspects of performance motivation of teachers were rated at a high level, while consider in each aspect (1) motivating factor could be ranked based on their rating means as follows: the work success, the responsibility, the work characteristic, the respect, and the progress of work, respectively; (2) supporting factors could be ranked based on their rating means as follows: the interpersonal relationship, the governing, the administrative policy, the working condition, and the benefits, respectively; and 3) the leadership behavior of school administrators positively related to the peen_US
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม20.16 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons