Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3649
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ลัดดาวรรณ ณ ระนอง, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.advisor | จิระสุข สุขสวัสดิ์, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.author | อัญชลี ภัทรโอภาส, 2520- | - |
dc.contributor.other | หาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-03-02T04:07:11Z | - |
dc.date.available | 2023-03-02T04:07:11Z | - |
dc.date.issued | 2563 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3649 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (การแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา)) -- มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2563 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบการรู้จักและเข้าใจตนเองของนักเรียนกลุ่มทดลองก่อนและหลังการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาการรู้จักและเข้าใจตนเอง และ2) เปรียบเทียบการรู้จักและเข้าใจตนเองของนักเรียนกลุ่มทดลองระหวางหลังการทดลองกับในระยะ ติดตามผลกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเมืองสุราษฎร์ธานีจังหวัดสุราษฎร์ธานี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563 จำนวน 34 คน ได้มาโดยวิธีการสุ่มแบบกลุ่มเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาการรู้จักและเข้าใจตนเอง และ2) แบบวัดการรู้จักและเข้าใจตนเอง มีค่าความเที่ยงเท่ากับ .89 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าทีผลการวิจัยปรากฏว่า 1) นักเรียนกลุ่มทดลองมีคะแนนการรู้จักและเข้าใจตนเองหลังการทดลองมากกว่ากิ่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ2) นักเรียนกลุ่มทดลองมีคะแนนการรู้จักและเข้าใจตนเองระหวางหลังการทดลองกับติดตามผลไม่แตกต่างกัน | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา --วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | การแนะแนวการศึกษา--ไทย--สุราษฎร์ธานี | th_TH |
dc.title | ผลการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาการรู้จักและเข้าใจตนเองของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเมืองสุราษฎร์ธานี จังหวัดสุราษฎร์ธานี | th_TH |
dc.title.alternative | The effects of using a guidance activities package to develop self-understanding of Mathayom Suksa I students of Mueang Surat Thani School in Surat Thani Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this research were (1) to compare the levels of selfunderstanding of the experimental group students before and after using a guidance activities package to develop self-understanding; and (2) to compare the levels of selfunderstanding of the experimental group students at the completion of the experiment and during the follow up period. The research sample consisted of 43 Mathayom Suksa I students in an intact classroom of Mueang Surat Thani School during the first semester of the 2020 academic year, obtained by cluster random sampling. The employed research instruments were (1) a guidance activities package to develop self-understanding, and (2) a scale to assess self-understanding, with reliability coefficient of .89. Statistics employed for data analysis were the percentage, mean, standard deviation, and t-test. The research findings showed that (1) the post-experiment self-understanding scores of the experimental group students were significantly higher than their preexperiment counterpart scores at the .05 level of statistical significance; and (2) the selfunderstanding scores at the completion of the experiment of the experimental group students were not significantly different from their counterpart scores during the follow up period. | en_US |
Appears in Collections: | Edu-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
FULLTEXT.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 21.55 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License