Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3650
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorดรุณี จำปาทอง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorปวริศา เจริญลาภ, 2514--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-03-02T04:18:47Z-
dc.date.available2023-03-02T04:18:47Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3650-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเรื่องสิ่งแวดล้อมงธรรมชาติกับวิถีชีวิตให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์และ2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนของนักเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเรื่องสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติกับวิถีชีวิต กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนสวนลุมพินี กรุงเทพมหานคร จำนวน 30 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย (1) บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเรื่องสิ่งแวดล้อมงธรรมชาติกับวิถีชีวิต (2) แผนการจัดการเรียนรู้ (3) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ข้อมูลคือค่าประสิทธิภาพ E1/E2 ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที่ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่องสิ่งแวดล้อมงธรรมชาติ กับวิถีชีวิตที่สร้างขึ้นมีประสิทธิภาพตามเกณฑ์โดยมีค้าระหว่างเรียนและหลังเรียน เท่ากับ 81.80 / 82.10 และ (2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่เรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง สิ่งแวดล้อมงธรรมชาติกับวิถีชีวิต หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isootherth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาหลักสูตรและการสอน --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectสิ่งแวดล้อม--คอมพิวเตอร์ช่วยการสอนth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--หลักสูตรและการสอนth_TH
dc.subjectผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนth_TH
dc.titleผลการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเรื่อง สิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติกับวิถีชีวิตที่มีผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนสวนลุมพินี กรุงเทพมหานครth_TH
dc.title.alternativeThe effects of computer assisted instruction in the topic of natural environment and the people's way of life on learning achievement of Prathom Suksa V students at Suan Lumpinee School in Bangkok Metropolisth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were (1) to develop a computer assisted instruction program in the topic of Natural Environment and the People’s Way of Life to meet the set efficiency criterion; and (2) to compare learning achievements of Prathom Suksa V students before and after learning from the computer assisted instruction program in the topic of Natural Environment and the People’s Way of Life. The research sample consisted of 30 Prathom Suksa V students at Suan Lumpinee School in Bangkok Metropolis obtained by cluster random sampling. Research instruments were (1) a computer assisted instruction program in the topic of Natural Environment and the People’s Way Life; (2) learning management plans; and (3) an achievement test. The statistics employed for analyzing the data were the E1/E2 efficiency index, mean, standard deviation, and t-test. The research findings were (1) the developed computer assisted instruction program in the topic of Natural Environment and the People’s Way of Life was efficient at 81.80/ 82.10, thus meeting the set 80/80 efficiency criterion; and (2) the post-learning achievement of Prathom Suksa V students who learned from the computer assisted instruction program in the topic of Natural Environment and the People’s Way Life was significantly higher than their pre-learning counterpart achievement at the .05 level of statistical significance.en_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_151779.pdfเอกสารฉบับเต็ม21.76 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons