Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3658
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนวลจิตต์ เชาวกรีติพงศ์th_TH
dc.contributor.authorรุ่งอรุณ กุศลศีลธรรม, 2528-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-03-02T06:32:09Z-
dc.date.available2023-03-02T06:32:09Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3658en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) สร้างชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์สำหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนบ้านจอมแจ้งมิตรภาพที่ 193 จังหวัดแม่ฮ่องสอนให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน และ (2) เปรียบเทียบคะแนนความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียน โดยใช้ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงกึ่งทดลอง ใช้รูปแบบการศึกษากลุ่มเดียว วัดก่อน-หลังการทดลอง กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนบ้านจอมแจ้งมิตรภาพที่ 193 จังหวัดแม่ฮ่องสอน ปีการศึกษา 2558 ภาคเรียนที่ 2 จำนวน 25 คน ซึ่งได้มาโดยวิธีการสุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วยเครื่องมือที่ใช้ในการทดลองได้แก่ ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์และเครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล ได้แก่แบบวัดความสามารถในการคิดวิเคราะห์ฉบับที่ 1 และ2 มีค่าความเที่ยงเท่ากับ .86 และ.88 ตามลำดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) ประสิทธิภาพของชุดกิจกรรมวิทยาศาสตรมีค่าเป็น 84.47/81.33 ได้ตามเกณฑ์ที่กำหนดไว้ 80/80 และ (2) คะแนนความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนบ้านจอมแจ้งมิตรภาพที่ 193 หลังเรียนโดยใช้ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์สูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาหลักสูตรและการสอน--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการรู้คิดในเด็กth_TH
dc.subjectความคิดและการคิด--การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)th_TH
dc.titleผลการใช้ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ที่มีต่อความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนบ้านจอมแจ้งมิตรภาพที่ 193 จังหวัดแม่ฮ่องสอนth_TH
dc.title.alternativeEffects of using a science activity package on analytical thinking ability of Mathayom Suksa I students at Jomjangmittapap 193 School in Mae Hong Son Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were (1) to develop a science activity package for Mathayom Suka I student at Jomjangmittapap 193 School in Mae Hong Son province based on the 80/80 efficiency criterion; (2) to compare analytical thinking ability scores of MathayomSuksa I students before and after learning with the use of the science activity package. This research was a pre - experimental research with the One Group Pretest - Posttest Design. The research sample consisted of 25 Mathayom Suksa I students of Jomjangmittapap 193 School in Mae Hong Son province during the first semester of the 2015 academic year, obtained by cluster sampling. The employed research instruments comprised a treatment instrument which was a science activity package, and data collecting instruments which were two analytical thinking ability assessment scales (Form 1 and Form 2) with reliability coefficients of .86 and .88 respectively. Statistics employed for data analysis were the mean, standard deviation, and t-test. The research findings showed that (1) the developed science activity package was efficient at 84.47/81.33 which met the set efficiency criterion of 80/80 ; and (2) the post-learning analytical thinking ability scores of Mathayom Suksa I students of Jomjangmittapap 193 School, who learned with the use of the science activity package were significantly higher than their pre-learning counterpart scores at the .05 level.en_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_151045.pdfเอกสารฉบับเต็ม17.27 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons