Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/365
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุณี ภู่สีม่วงth_TH
dc.contributor.authorผุสดี ลีกระจ่าง, 2535-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-09T08:04:34Z-
dc.date.available2022-08-09T08:04:34Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/365en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม. (เทคโนโลยีอุตสาหกรรม))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2560th_TH
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาสภาวะที่เหมาะสมในการผลิตถ่านกัมมันต์จากกะลามะพร้าวและกะลาปาล์ม (2) พัฒนาวัสดุดูดซับไอระเหยของสารโทลูอีนจากถ่านกะลามะพร้าว และถ่านกะลาปาล์ม (3) ศึกษาประสิทธิภาพการดูดซับไอระเหยสารโทลูอีนที่พัฒนาขึ้น และ (4) วิเคราะห์ต้นทุนของการผลิตวัสดุดูดซับที่พัฒนาขึ้นการดำเนินการวิจัยโดยการนำกะลามะพร้าวและกะลาปาล์ม มาเผาในสภาพไร้ออกซิเจน และทำการบดและร่อนให้ได้ขนาด 1-3 มิลลิเมตร นำถ่านกะลามะพร้าวและถ่านกะลาปาล์มมากระตุ้นด้วยโพแทสเซียมไฮดรอกไซด์ (KOH) โดยใช้สัดส่วน ถ่าน:KOH เท่ากับ 1:1 1:3 และ 1:5 ให้ความร้อน 800 องศาเซลเซียสเป็นเวลา 2 ชั่วโมง จากนั้นนำไปวัดค่าไอโอดีนนัมเบอร์ และวิเคราะห์คุณสมบัติทางกายภาพ เพื่อคัดเลือกสัดส่วนที่ดี เพื่อนำไปทดสอบประสิทธิภาพการดูดซับไอระเหยสารโทลูอีน และคำนวณต้นทุนในพัฒนาวัสดุดูดซับเปรียบเทียบกับถ่านกัมมันต์ทางการค้า ผลการวิจัยมีดังนี้ (1) ผลการศึกษาสภาวะที่เหมาะสมในการผลิตถ่านกัมมันต์จากกะลามะพร้าว พบว่าที่สัดส่วนของถ่านกัมมันต์จากกะลามะพร้า:KOH เท่ากับ 1:3 ได้ค่าไอโอดีนนัมเบอร์ที่ดีที่สุดคือ 618.45 มิลลิกรัมต่อกรัม และสภาวะที่เหมาะสมในการผลิตถ่านกัมมันต์จากกะลาปาล์ม พบว่าที่สัดส่วนของถ่านกัมมันต์จากกะลาปาล์ม:KOH เท่ากับ 1:3 ได้ค่าไอโอดีนนัมเบอร์ที่ดีที่สุดคือ 605.75 มิลลิกรัมต่อกรัม (2) เมื่อวิเคราะห์คุณสมบัติทางกายภาพ พบว่าถ่านกะลามะพร้าวมีลักษณะพื้นที่ผิวถูกเปิด เป็นโพรงลึกลงไปในโครงสร้าง และภายในมีรูพรุนขนาดเล็กเกิดขึ้นจำนวนมาก ส่วนถ่านกะลาปาล์ม มีลักษณะพื้นที่ผิวถูกเปิด เป็นโพรงลึกลงไปในโครงสร้าง แต่รูพรุนที่เกิดขึ้นไม่สม่ำเสมอ และรูพรุนบางส่วนยังถูกปิดคลุมอยู่ ดังนั้นถ่านกัมมันต์จากกะลามะพร้าวและถ่านกัมมันต์จากกะลาปาล์มมีคุณสมบัติสามารถนำไปเป็นวัสดุดูดซับได้ (3) ผลการศึกษาประสิทธิภาพการดูดซับไอระเหยสารโทลูอีน พบว่าถ่านกะลาปาล์ม ถ่านกะลามะพร้าว และถ่านกัมมันต์ทางการค้า มีประสิทธิภาพการดูดซับไอระเหยสารโทลูอีน เท่ากับ 43.61 83.96 และ 221.83 มิลลิกรัมต่อกรัมตามลำดับ จุดอิ่มตัวในการดูดซับไอระเหยสารโทลูอีน มีค่าเท่ากับ 25.69 33.94 และ 37.11 มิลลิกรัมต่อกรัม ตามลำดับ สามารถดักจับไอระเหยสารโทลูอีนได้ร้อยละ 20 30 และ 90 ตามลำดับ และ (4) ผลการวิเคราะห์ต้นทุนของการผลิตวัสดุดูดซับที่พัฒนาขึ้น พบว่า ต้นทุนการผลิตถ่านกัมมันต์จากกะลามะพร้าวและจากกะลาปาล์มมีต้นทุนน้อยกว่าถ่านกัมมันต์ทางการค้าถึง 4 เท่าth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2017.72en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectถ่านไม้--การผลิตth_TH
dc.subjectโทลูอีน--การดูดซึมและการดูดซับth_TH
dc.titleการพัฒนาวัสดุดูดซับไอระเหยสารโทลูอีนจากถ่านกะลามะพร้าวและถ่านกะลาปาล์มth_TH
dc.title.alternativeDevelopment of toluene vapor adsorbent from coconut shell charcoal and palm shell charcoalen_US
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2017.72en_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to (1) study the optimum conditions for the production of activated carbon from coconut shell and palm shell, (2) develop the toluene absorbent materials from coconut shell and palm shell, (3) study the effectiveness of toluene vapor adsorption, as well as (4) analyze the cost of producing the vapor absorbent material. The research conducted by the coconut shell and palm shell was burned in oxygen less conditions, then crushed and sieved to the size of 1-3 millimeters. The coconut shell and palm shell charcoals was activated by potassium hydroxide (KOH). The ration between KOH and mix coconut shell and palm shell was 1:1, 1:3 and 1:5. Next, the mixture was heated to 800 °C for two hours. Iodine number and physical properties were analyzed to select the good proportion of the toluene vapor adsorbents. The cost of developing for the vapor adsorbent material was compared to the commercial activated carbon. The research result were as follows (1) the optimal conditions of activated carbon from coconut shell showed the best iodine number was 1:3; equivalent to 618.45 mg/g. and the optimal conditions of activated carbon form palm shell showed the best iodine number was 1:3; equivalent to 605.75 mg/g. (2) When analyzing physical properties, it was found that coconut shell charcoal was characterized by open surface area. A deep hole in the structure and a small internal porous hole formed. The palm shell charcoal can be seen as a deep cavity in the charcoal structure. But the porosity is uneven and some porous are covered. So that the toluene absorbent materials can be developed from coconut shell and palm shell. (3) The toluene vapor adsorption efficiency of the palm shell charcoal, coconut shell charcoal and commercial activated charcoal was 43.61 , 83.96 and 221.83 mg/g respectively. The breakthroughs of the palm shell charcoal, coconut shell charcoal and commercial activated charcoal were 25.69, 33.94 and 37.11 mg/g, respectively. And (4) the cost of producing the vapor absorbent material was four times less than the commercial activated carbonen_US
dc.contributor.coadvisorประพัทธ์ พงษ์เกียรติกุลth_TH
Appears in Collections:Science Tech - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_158625.pdfเอกสารฉบับเต็ม12.22 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons