Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3664
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorดวงเดือน พินสุวรรณ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorเทคนิค หนูเสน, 2517--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-03-02T08:23:53Z-
dc.date.available2023-03-02T08:23:53Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3664-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ(1) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ ก่อนเรียนและหลังเรียน เรื่องน้ำและอากาศ โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบวัฎจักรการเรียนรู้ 7 ขั้นร่วมกับเทคนิคการใช้ผังกราฟิก ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนบ้านหารเทา จังหวัดพัทลุง และ(2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ เรื่องน้ำและอากาศ ของนักเรียน ดังกล่าวที่เรียนโดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้ 7 ขั้น ร่วมกับเทคนิคการใช้ผังกราฟิกกับเกณฑ์ร้อยละ 75 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนบ้านหารเทา จังหวัดพัทลุง จำนวน 30 คน ใน 1 ห้องเรียน ได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือแผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบ วัฏจักรการเรียนรู้ 7 ขั้น ร่วมกับเทคนิคการใช้ผังกราฟิก แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ เรื่องน้ำและอากาศ แบบปรนัยชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จำนวน 30 ข้อ ซึ่งมีค่าความเที่ยงเท่ากับ .85 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าทีผลการวิจัยปรากฏว่า(1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ก่อนเรียนและหลังเรียน เรื่องน้ำและอากาศ โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบวัฎจักรการเรียนรู้ 7 ขั้นร่วมกับเทคนิคการใช้ผัง กราฟิกของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนบ้านหารเทา จังหวัดพัทลุง หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และ(2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ เรื่องน้ำและอากาศของนักเรียนดังกล่าวที่เรียนโดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้ 7 ขั้น ร่วมกับเทคนิคการใช้ผังกราฟิกสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 75 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาหลักสูตรและการสอน --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectวิทยาศาสตร์--การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา)--ไทย--พัทลุงth_TH
dc.titleผลการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้ 7 ขั้น ร่วมกับเทคนิคการใช้ผังกราฟิกที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ เรื่องน้ำและอากาศของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนบ้านหารเทา จังหวัดพัทลุงth_TH
dc.title.alternativeThe effects of the 7E Learning Cycle with graphic organizers techniques on science learning achievement in the topic of water and weather of Prathom Suksa III students at Ban Harnthao School in Phatthalung Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were (1) to compare science learning achievements in the topic of Water and Weather of Prathom Suksa III students at Ban Harnthao School in Phatthalung province before and after being taught by using the 7E learning cycle with graphic organizers techniques; and (2) to compare against the 75 percent criterion the post-learning science learning achievement in the topic of Water and Weather of of the students who were taught by using the 7E learning cycle with graphic organizers. The research sample consisted of 30 Prathom Suksa III students studying in the first semester of the 2015 academic year at Ban Harnthao School in Phatthalung province, obtained by cluster random sampling. The research instruments consisted of learning management plans for instruction using the 7E learning cycle with graphic organizers techniques, and a science learning achievement test, which was a 30-item multiple-choice (4 choices) test with reliabilitycoefficient of .85. Statistics employed for data analysis were the percentage, mean, standard deviation, and t-test. The findings of the study revealed that (1) the post-learning science learning achievement in the topic of Water and Weather of Prathom Suksa III students at Ban Harnthao School in Phatthalung province who were taught by using the 7E learning cycle with graphic organizers techniques was significantly higher than their pre-learning counterpart achievement at the .01 level; and (2) the post-learning science learning achievement of the students who were taught by using the 7E learning cycle with graphic organizers techniques was significantly higher than the 75 percent criterion at the .01 levelen_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_148118.pdfเอกสารฉบับเต็ม17.08 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons