Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/366
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรุ่งพงษ์ ชัยนามth_TH
dc.contributor.authorพิสิฐชัย รักเกียรฐิ อ่อนสิงห์, 2527-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-09T08:07:57Z-
dc.date.available2022-08-09T08:07:57Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/366-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ร.ม. (การเมืองการปกครอง))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2556th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนื้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาบทบาทการส่งเสริมการพัฒนาการเมืองแก่ยุวชนประชาธิปไตยของสำนักงานเลขาธการสภาผู้แทนราษฎร (2) ศึกษาผลการดำเนินการ ปัญหาและอุปสรรคของสำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรในการส่งเสริมการพัฒนาการเมืองแก่ยุวชนประชาธิปไตยตลอดจนแนวทางการดำเนินการต่อไปในอนาคต (3) ศึกษาความคิดเห็นของยุวชนประชาธิปไตยเกี่ยวกับ บทบาทของสำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรในการส่งเสริมการพัฒนาการเมืองแก่ยุวชนประชาธิปไตย (4) เปรียบเทยบความคิดเห็นของยุวชนประชาธิปไตยเกี่ยวกับบทบาทของสำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรในการส่งเสริมการพัฒนาการเมืองแก่ยุวชนประชาธิปไตยที่มีเพศ อายุ ที่แตกต่างกันการวิจัยครั้งนั้นเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพเป็นหลัก และใช้การวิจัยเชิงปริมาณประกอบกันในส่วนของการวิจัยเชิงคุณภาพ กลุ่มตัวอย่าง คือ ข้าราชการการเมืองและข้าราชการประจำที่มีความเกี่ยวข้อง กับการดำเนินโครงการยุวชนประชาธิปไตย จำนวน 8 คน เครื่องมือที่ใชัเป็นแบบสัมภาษณ์เชิงสึก การวิเคราะห์ข้อมูลจะใช้การวิเคราะห์เนื้อหา และนำเสนอในลักษณะเชิงอุปนัย และพรรณนาสำหรับการวิจัยเชิงปริมาณนั้น กลุ่มตัวอย่างคือยุวชนประชาธิปไตยจำนวน 360 คน โดยการเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบบังเอิญเครืองมือที่ใช้เป็นแบบสอบถาม สถิติที่ใซัในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลย การทดสอบค่า ผลการวิจัยพบว่า (1) สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรมีบทบาทในการส่งเสริมการเรียนรู้ทางการเมือง และการส่งเสริมการมีส่วนร่วมทางการเมือง (2) ผลการดำเนินการพบว่ายุวชนประชาธิปไตยมีพัฒนาการทางการเมืองที่ชัดเจน และมีบทบาทที่สำคัญต่อการพัฒนาการเมืองของไทย (3) ความคิดเห็นของยุวชนประชาธิปไตยในการส่งเสริมการพัฒนาการเมืองแค่ยุวชนประชาธิปไตยของสำนักงาน เลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรอยู่ในระดับมาก (4) การเปรียบเทยบความคิดเห็นของยุวชนประชาธิปไตยในการส่งเสริมการพัฒนาการเมืองแก่ยุวชนประชาธิปไตยของสำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรพบว่าเพศและอายุของยุวชนประชาธิปไตยที่แตกต่างกันมีความเห็นไม่แตกต่างกันที่ระดับความมีนัยสำคัญ .05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceReformatted digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชารัฐศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการเมืองการปกครอง --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectสำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร--การบริหารth_TH
dc.subjectการพัฒนาเมือง--ไทยth_TH
dc.titleบทบาทของสำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรในการส่งเสริมการพัฒนาเมืองแก่ยุวชนประชาธิปไตยth_TH
dc.title.alternativeRoles of the secretariat of the House of Representative in promotion of Political Development to Democratic Youthsen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameรัฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชารัฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of the study were to: (1) study the roles of promotion of political development to democratic youths of the Secretariat of Parliament; (2) study the work performance, problems and difficulties of the Secretariat of Parliament in the promotion of political development to democratic youths, including practical guidelines for the future; (3) study the democratic youths' opinions regarding the roles of the Secretariat of Parliament in promotion of political development; and (4) compare the opinions regarding the roles of the Secretariat of Parliament in promotion of political development of democratic youths of different sex and age. The study was mainly a qualitative research with a quantitative portion. The key informants consisted of 8 political and government officials who were responsible for the democratic youth project. The data collection tool was an in-depth interview form. The data were analyzed through content analysis and descriptive analysis. For the quantitative portion, the sample population consisted of 360 students participating in the democratic youth project, chosen through accidental sampling. Questionnaires were used to gather data for statistical analysis, comprising percentage, mean and t-test. On the basis of the results of this research, it can be concluded that: (1) the Secretariat of Parliament has the roles of promotion of political studies and participation; (2) work performance analysis showed that the students who participated in the democratic youth project clearly developed their political knowledge and could play an important role in the political development of Thailand; (3) the majority of youth participants had a very positive opinion of the Secretariat of Parliament’s promotion of political development to democratic youths; and (4) no statistically significant relationship was found between democratic youths' sex and age and their opinions regarding the roles of the Secretariat of Parliament in promotion of political development (confidence level 0.05).en_US
Appears in Collections:Pol-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
142739.pdfเอกสารฉบับเต็ม15.5 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons