Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3680
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorทวีศักดิ์ จินดานุรักษ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.contributor.authorภาวัต เต่านันท์, 2522--
dc.date.accessioned2023-03-03T06:43:05Z-
dc.date.available2023-03-03T06:43:05Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3680-
dc.description.abstractการวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง การเคลื่อนที่ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนเม็งรายมหาราช วิทยาคม จังหวัดเชียงราย ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 (2) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนรายวิชาฟิสิกส์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่องการเคลื่อนที่ หลังการใช้ชุด กิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบ 5E และการสอนแบบปกติ และ (3) เพื่อศึกษาความพึงพอใจ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ต่อการจัดการเรียนรู้รายวิชาฟิสิกส์พื้นฐาน เรื่องการเคลื่อนที่ โดย ใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบ 5E กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา โรงเรียนเม็งรายมหาราชวิทยาคม จังหวัดเชียงราย จำนวน 2 ห้องเรียน 60 คน ได้มาจากการสุ่มแบบ กลุ่ม โดยใช้ห้องเรียนเป็นหน่วยสุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยแบ่งเป็น (1) เครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง คือ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบ 5E และ (2) เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ประกอบด้วย แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน จำนวน 30 ข้อ แบบวัดความพึงพอใจต่อการ จัดการเรียนรู้ จำนวน 19 ข้อ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าประสิทธิภาพ E1/E2 ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) ชุดกิจกรรมการเรียนวิทยาศาสตร์แบบ 5E รายวิชาฟิสิกส์ พื้นฐาน เรื่องการเคลื่อนที่ มีค่าประสิทธิภาพ เท่ากับ 81.96/82.67 (2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายวิชาฟิสิกส์พื้นฐาน เรื่อง การเคลื่อนที่ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนเม็งรายมหาราชวิทยาคม หลังการเรียนโดยใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบ 5E สูงกว่าผลสัมฤทธิ์ดังกล่าว ของนักเรียนที่เรียนจากวิธีการสอนแบบปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ (3) ความพึง พอใจของนักเรียนต่อการเรียนโดยใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบ 5E อยู่ในระดับมากที่สุดth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาหลักสูตรและการสอน --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectวิทยาศาสตร์--กิจกรรมการเรียนการสอนth_TH
dc.subjectวิทยาศาสตร์--การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)--ไทย--เชียงรายth_TH
dc.subjectฟิสิกส์--การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)--ไทย--เชียงรายth_TH
dc.subjectฟิสิกส์--กิจกรรมการเรียนการสอนth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--หลักสูตรและการสอนth_TH
dc.titleผลการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบ 5E เรื่องการเคลื่อนที่ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาฟิสิกส์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนเม็งรายมหาราชวิทยาคม จังหวัดเชียงรายth_TH
dc.title.alternativeThe effects of a 5E science activity package in the topic of movement on physics learning achievement of Mathayom Suksa VI students at Mengrai Maharat Wittayakhom School in Chiang Rai Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were: (1) to develop a 5E science activity package in the topic of Movement for mathayom Suksa IV students at Mengrai Maharat Witthayakhom School in Chiang Rai province based on the 80/80 efficiency criterion; (2) to compare Physics learning achievement in the topic of Motion of Mathayom Suksa VI students who learned from the 5E science activity package with the counterpart learning achievement of Mathayom Suksa IV students who learned under traditional instruction; and (3) to study the satisfaction of students with learning management using the 5E science activity package for the topic of Motion in the Foundation of Physics Course. The research sample consisted of 60 mathayom Suksa IV students in two intact classrooms of Mengrai Maharat Witthayakhom school in Chiang Rai Province during the second semester of the academic year 2015, obtained by cluster random sampling with the classroom as the sampling unit. The research instruments comprised (1) the treatment instrument which was a 5E science activity package; and (2) the data collecting instruments which were a learning achievement test with 30 items, and a scale to assess satisfaction with the learning achievement with 19 items. Statistics employed for data analysis were the E1/E2efficiency index, mean, standard deviation, and ttest.The research findings showed that (1) the developed 5E science activity package in the topic of Movement was efficient at 81.96/82.67; (2) the post-learning achievement in the Foundation of Physics Course topic of Motion of Mathayom Suksa IV students who learned from the 5E science activity package was significantly higher than the counterpart learning achievement of the students who learned under traditional instruction at the .05 level; and (3) satisfaction of the students with learning by using the 5E science activity package was at the highest level.en_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_146283.pdfเอกสารฉบับเต็ม32.43 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons