Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3695
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสราวุธ ปิติยาศักดิ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorเทพวรา มาตรา, 2524--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-03-04T13:06:43Z-
dc.date.available2023-03-04T13:06:43Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3695-
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระเรื่อง “คณะกรรมการบริหารงานบุคคลของเทศบาลตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542” ซึ่งมีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อศึกษาแนวคิดและทฤษฏีทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่นเปรียบเทียบกับกฎหมายต่างประเทศเช่นประเทศฝรั่งเศสประเทศญี่ปุ่นและประเทศฟิลิปปินส์ (2) เพื่อศึกษาการบริหารงานบุคคลของเทศบาลตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 และทิศทางการพัฒนาการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่นไทย (3) เพื่อศึกษาและวิเคราะห์ปัญหาการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่นตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 และวิเคราะห์เปรียบเทียบกบร่างพระราชบัญญัติระเบียบบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น พ.ศ. .... (4) เพื่อเสนอแนะแนวทางแก้ไขปัญหาการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่นตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้เป็นการศึกษาในเชิงคุณภาพและวิเคราะห์เอกสารโดยใช้ข้อมูลในการศึกษาวิจัย ทั้งจากตัวบทกฎหมายหนังสือวารสารบทความวิทยานิพนธ์เอกสารงานวิจัยสิ่งพิมพ์และข้อมูลจากสิ่งพิมพ์อิเล็กทรอนิกส์จากเว็บไซต์ต่าง ๆ รวมทั้งจากการสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญโดยนําข้อมูลมาจัดหมวดหมู่และทําการวิเคราะห์หาข้อสรุปตามประเด็นปัญหาที่ตั้งไว้ ผลการศึกษาพบว่าโครงสร้างคณะกรรมการด้านการบริหารบุคคลขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นซับซ้อนขาดความเป็นเอกภาพและไม่เป็นมาตรฐานเดียวกนรวมทั้งไม่มีหลักประกนต่อข้าราชการท้องถิ่นอย่างเพียงพอส่งผลกระทบต่อคุณภาพของการบริหารงานองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดังนั้นเพื่อแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นดังกล่าวจึงขอเสนอแนวทางแก้ไขปัญหาด้วยวิธีการปรับปรุงโครงสร้างคณะกรรมการบริหารบุคคลส่วนท้องถิ่นจาก 3 ระดับให้เหลือ 2 ระดับโดยการให้ก.กลางและก.ถ.รวมกันเป็นก.เดียว และ ก.ระดับจังหวัดรวมกนเป็น ก.เดียวเพื่อความเป็นเอกภาพ และมาตรฐานเดียวกันรวมทั้งลดอํานาจผู้บริหารท้องถิ่นในการบริหารงานบุคคลเพื่อให้สามารถถ่วงดุลการใช้อํานาจการบริหารงานบุคคลของผู้บริหารท้องถิ่นth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายมหาชน--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectเทศบาล--กฎหมายและระเบียบข้อบังคับth_TH
dc.subjectการบริหารงานบุคคลth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--กฎหมายมหาชนth_TH
dc.titleคณะกรรมการบริหารงานบุคคลของเทศบาลตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542th_TH
dc.title.alternativeThe committee of personnel management of municipality according to the Local Personnel Administration ACT, B.E. 2542en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of research were: 1) to study the general concepts and theories about local personnel administration comparedwith the law in other countries such asFrance, Japan and the Philippines; 2) to study the personnel management of municipalities according to the Local Personnel Administration Act, B.E. 2542, and the tendency of the development of local personnel management in Thailand; 3) to study and analyze problems with local personnel management following the Local Personnel Administration Act, B.E. 2542 and to analyze and compare the existing act with the proposed act of legislation of the Local Personnel Administration Act, B.E……; and 4) to propose the course of remedy for local personnel management under the Local Personnel Administration Act, B.E. 2542. This research applied qualitative research methods and document analysis using the data from various sources including journals, articles, theses, documents, researches, papers, and websites as well as interviews with experts. Data were categorized and analyzedto form conclusions following the research questions. The results showed that overall the structure of committees within local administrative organizations overlaps and is redundant.There is a lack of unity and integrity. The different committeesoperate under different standards.All authority forpersonnel administration is centrally held by the chief administrative officer, so this influences the quality of administration of local administrative organizations.To solve the problem, the first suggestionwasto re-engineer the structure of personnel administration committees from 3 levels down to just 2 levels by combining the central committee with the local committee and leaving the provincial committee as the second level. This would bring about greater unity and integrity and make the committees operate under the same standards. In addition, the authority of the chief administrative officers over personnel administration should be decreased to insure more checks and balancesen_US
Appears in Collections:Law-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม16.94 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons