Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3696
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสราวุธ ปิติยาศักดิ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorธนกฤต สินธพ, 2526--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-03-04T13:20:18Z-
dc.date.available2023-03-04T13:20:18Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3696-
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประวัติความเป็นมา แนวคิด ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการออกโฉนดที่ดินให้กับผู้ถือกรรมสิทธิ์รวม ศึกษา และเปรียบเทียบกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการออกโฉนดที่ดินให้กับผู้ถือกรรมสิทธิ์รวมของประเทศไทยและต่างประเทศ วิเคราะห์ปัญหาเกี่ยวกับการออกโฉนดที่ดินให้กับผู้ถือกรรมสิทธิ์รวมของประเทศไทย เพื่อหาแนวทางในการพัฒนาหรือปรับปรุงแก้ไขกฎหมายในเรื่องการออกโฉนดที่ดินให้กับผู้ถือกรรมสิทธิ์รวม ให้สอดคล้องกบสภาพสังคมในปัจจุบันและเป็นประโยชน์ต่อส่วนรวมมากยิ่งขึ้น การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพโดยการวิจัยทางเอกสารเป็นหลัก และใช้วิธีการศึกษาเชิงวิเคราะห์ทางนิติศาสตร์จากกฎหมาย ตําราทางวิชาการ หนังสือวารสาร บทความ คําพิพากษาของศาล งานวิจัย และข้อมูลต่าง ๆ ที่ได้จากการสัมภาษณ์หรือ สืบค้นจากข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ที่เกี่ยวข้อง ผลการศึกษาพบว่า การออกโฉนดที่ดินตามประมวลกฎหมายที่ดินของประเทศไทย ในที่ดินหนึ่งแปลง จะมีโฉนดที่ดินเพียงหนึ่งฉบับเท่านั้น โดยให้ยึดตามแปลงที่ดินเป็นหลักไม่ยึดตามตัวบุคคล หลักการนี้ก่อให้เกิดปัญหาในกรณีที่ดินนั้น มีเจ้าของมากกวาหนึ่งคนขึ้นไป เนื่องจากมีเพียงผู้ถือกรรมสิทธิ์รวมรายใดรายหนึ่งเท่านั้นที่สามารถยึดถือครอบครองโฉนดที่ดินอันเป็นหลักฐานแห่งกรรมสิทธิ์ไว้ได้โดยที่ผู้ถือกรรมสิทธิ์รวมรายอื่นไม่มีหลักฐานในการแสดงออกถึงกรรมสิทธิ์ของตนที่มีอยูในที่ดินนั้นเลย ลักษณะเช่นนี้ ก่อให้เกิดปัญหา ทั้งในด้านการใช้สิทธิในฐานะเจ้าของกรรมสิทธิ์และปัญหาทางด้านงานทะเบียนที่ดินเป็นอย่างมากเพื่อเป็นการแก้ไขปัญหาดังกล่าวข้างต้น ผู้ศึกษาได้เสนอให้แก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายที่ดิน โดยการบัญญัติรับรองให้สามารถออกโฉนดที่ดินให้กบผู้ถือกรรมสิทธิ์รวมเป็นรายบุคคลได้th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายมหาชน--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectโฉนด--ไทยth_TH
dc.subjectการถือครองที่ดิน--ไทย--กฎหมายและระเบียบข้อบังคับth_TH
dc.subjectกฎหมายที่ดินth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--กฎหมายมหาชนth_TH
dc.titleการออกโฉนดที่ดินให้กับผู้ถือกรรมสิทธิ์รวมth_TH
dc.title.alternativeThe issuance of title deeds to co-owners of real propertyen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis independent study aime to consider the issuance of title deeds to co owners of real property has the following objectives: To study the historical origins, concepts, and theories related to the issuance of title deeds to co-owners of real property; To study and compare the laws related to the issuance of title deeds to co owners of real property in Thailand and other countries; To analyze the problems related to the issuance of title deeds to co-owners of real property in Thailand; and To find methods to develop or amend the laws related to the issuance of title deeds to co-owners of real property to be more consistent with current societal norms and to increase the benefits to the general public. This independent study is qualitative research method with documentary sources and legal analysis including academic textbooks, scholarly journals, judicial decisions, research papers, and various information obtained from interviews or searches from related electronic data. This study found that only one title deed is issued for a single parcel of land under the Land Code of Thailand. Title deeds are issued by using the parcel of land as the primary consideration rather than the people involved. Using this principle has caused difficulties when a parcel of land has more than one owner due to the fact that only one owner of the land is able to hold and be in possession of the title deed as evidence of his ownership interest. The remaining co-owner or co-owners do not have any evidence that show their ownership in the real property at all. The characteristics of there sucession cause many problems in terms of both the ability of co-owners to exercise their respective rights in real property as well as problems with land registration duties. In order to address the aforementioned problems, the researcher has proposed of the Land Code of Thailand to permit the issuance of title deeds in real property to each co-owner of real propertyen_US
Appears in Collections:Law-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม40.27 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons