Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3702
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเสาวนีย์ อัศวโรจน์th_TH
dc.contributor.authorธตรัฐ ไตรณรงค์, 2527-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-03-05T03:30:15Z-
dc.date.available2023-03-05T03:30:15Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3702en_US
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาถึงแนวความคิด ทฤษฎีกฎหมายเกี่ยวกับการฟอกเงิน และวิเคราะห์ปัญหาอุปสรรคที่เกี่ยวกับ การจัดกลุ่มสถาบันการเงิน และมาตรการลงโทษสถาบันการเงินตามกฎหมายไทย เปรียบเทียบกับต่างประเทศ เพื่อนำผลการวิเคราะห์มากำหนดแนวทางที่เหมาะสมในการจัดกลุ่มสถาบันการเงิน และการเพิ่มมาตรการลงโทษทางปกครองต่อสถาบันการเงิน และเสนอแก้ไขพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ. 2542 เพื่อให้มีการบังคับใช้กฎหมายอย่างมีประสิทธิภาพ การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้ เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ด้วยวิธีการวิจัยทางเอกสารโดยศึกษาค้นคว้าจากเอกสารทางวิชาการ หนังสือ ตำรา วิทยานิพนธ์ ตำรากฎหมายไทยและต่างประเทศ รวมทั้งเอกสารอื่นที่เป็นประโยชน์ต่อการศึกษา ผลการศึกษาพบว่า การที่พระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ. 2542 ไม่ได้จัดกลุ่มสถาบันการเงินตามศักยภาพในการปฏิบัติตามกฎหมาย ขนาดทุน และจำนวนผลิตภัณฑ์ทางการเงิน และไม่มีมาตรการลงโทษทางปกครองต่อสถาบันการเงิน ซึ่งเป็นมาตรการลงโทษอันเป็นทางเลือก ส่งผลให้สำนักงานป้องกันและปราบปรามการฟอกเงินไม่สามารถกำกับและตรวจสอบสถาบันการเงินได้อยางมีประสิทธิภาพ ดังนั้น จึงสมควรปรับปรุงแก้ไขพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ. 2542 เพื่อให้การปฏิบัติงานของพนักงานเจ้าหน้าที่และการบังคับใช้กฎหมายในการกำกับและตรวจสอบสถาบันการเงินเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ตลอดจนเพื่อให้เป็นไปตามมาตรฐานสากลมากยิ่งขึ้นth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายมหาชน--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectสถาบันการเงินth_TH
dc.subjectการลงโทษth_TH
dc.subjectการฟอกเงิน--กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ--ไทยth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--กฎหมายมหาชนth_TH
dc.titleการจัดกลุ่มสถาบันการเงิน และการเพิ่มมาตรการลงโทษทางปกครองต่อสถาบันการเงิน ตามกฎหมายว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการฟอกเงินth_TH
dc.title.alternativeFinancial institutions grouping and adding administrative sanctions to financial institutions according to anti-money laundering lawen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this independent study is to study concepts and theories of the money-laundering law and analyze issues regarding financial institution grouping and measures of sanctioning financial institutions under Thai and foreign laws. Analysis results were used to define an appropriate guideline of financial institution grouping, add administrative sanctions to financial institutions and suggest solutions to amend the Prevention and Suppression of Money Laundering Act, B.E. 2542 for efficient enforcement. This independent study is the qualitative research by means of the documentary research and goes through the research from the academic documents, books, textbooks, thesis, Thai or foreign textbooks, and other documents. Result of the research showed that the Prevention and Suppression of Money Laundering Act, B.E. 2542, did not group financial institutions based on their ability to comply with laws, capital sizes and the number of their financial products. In addition, there were no administrative sanctions against financial institutions, which were optional punitive measures. As a result, the Anti Money Laundering Office is unable to supervise and examine financial institutions effectively. Therefore, the author suggests amending the Prevention and Suppression of Money Laundering Act, B.E. 2542 in order to facilitate the performing of the officers and the effective enforcement of the law to supervise and examine financial institutions, and more consistent with the international standard.en_US
Appears in Collections:Law-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม10.72 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons