Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3712
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | เสาวนีย์ อัศวโรจน์ | th_TH |
dc.contributor.author | ธารทิพย์ ถาวรพล, 2531- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-03-05T04:30:20Z | - |
dc.date.available | 2023-03-05T04:30:20Z | - |
dc.date.issued | 2560 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3712 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวคิด หลักการและเจตนารมณ์ของกฎหมายเกี่ยวกับการตรวจสอบทรัพย์สินและหนี้สิน เพื่อการวิเคราะห์ปัญหา และศึกษาแนวทางในการปรับปรุงแก้ไขบทบัญญัติว่าด้วยการตรวจสอบทรัพย์สินเพื่อการบังคับใช้ที่มีประสิทธิภาพส่งเสริมกลไกการป้องกันและปราบปรามการทุจริตให้ดียิ่งขึ้น การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้ เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ด้วยวิธีวิจัยเอกสารที่ได้จากการค้นคว้ารวบรวมจากตำรา สิ่งพิมพ์ต่าง ๆ เอกสารทางวิชาการทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ เกี่ยวกับหลักกฎหมายว่าด้วยการตรวจสอบทรัพย์สินมาเรียบเรียงและวิเคราะห์ เพื่อหาข้อสรุปและข้อเสนอแนะ ผลการศึกษาพบว่าบทบัญญัติเกี่ยวกับการตรวจสอบทรัพย์สินของไทย เมื่อพิจารณาเปรียบเทียบกับหลักกฎหมายหรือหลักเกณฑ์ที่ใกล้เคียงของสหรัฐอเมริกา อังกฤษ และสิงคโปร์ปรากฏว่ายังมีส่วนที่เป็นปัญหาเกี่ยวกับการดำเนินการตรวจสอบบัญชีฯ ที่กำหนดให้คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ ต้องดำเนินการตรวจสอบในทุก ๆบัญชี การเปิดเผยบัญชีต่อสาธารณะที่จํากัดให้เปิดเผยได้บางตำแหน่ง และการตรวจสอบความเปลี่ยนแปลงของทรัพย์สินและหนี้สินโดยไม่คำนึงถึงการตรวจสอบรายได้ ผู้ศึกษาจึงเห็นควรแก้ไขกฎหมายให้คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ สามารถเลือกตรวจสอบบัญชีตามลำดับความสำคัญได้ และให้เปิดเผยบัญชีฯ ที่มีการตรวจสอบทุกบัญชี และกำหนดให้มีการแสดงข้อมูลของรายได้เพื่อประโยชน์ในการตรวจสอบให้มากขึ้น | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายมหาชน--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | การทุจริตและประพฤติมิชอบทางการเมือง--ไทย--การป้องกัน | th_TH |
dc.subject | ทรัพย์สิน | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--กฎหมายมหาชน | th_TH |
dc.title | การบังคับใช้กฎหมายว่าด้วยการตรวจสอบทรัพย์สินของคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ กรณีการตรวจสอบความถูกต้องความมีอยู่จริงและความเปลี่ยนแปลงของทรัพย์สินและหนี้สิน | th_TH |
dc.title.alternative | Enforcement of the law regarding the inspection of assets of the national anti- corruption commission, the inspection of accuracy, the existence and the change in assets and liabilities | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | นิติศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชานิติศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purpose of this independent study is to study about concepts, principles and the spirit of the law related to inspection of the assets and liabilities in order to analyze problems and study guidelines to amend provisions concerning inspection of assets for the purpose of effective enforcement including promotion of protection and suppression of the corruption mechanism. This independent study is the qualitative research by means of documentary research. Textbooks, books, and academic papers both in Thai and foreign language related to the law concerning inspection of the assets were studied, and then analyzed to find conclusion and suggestions. Results of the research showed that when considering the provisions relating to the asset inspection in Thailand in compare with the nearby laws or rules in the United States, England and Singapore, there still be the problems of the account inspection which regulated the National Anti – Corruption Commission to inspect every accounts, the disclosure of the account to the public which restricted only in some positions and the inspection of the change of assets and liabilities regardless of the incomes. The researcher suggested amendment of the law to empower the National Anti-Corruption Commission in choosing to inspect the account depending on the priority, to disclose every inspected account, and to specify to show the information on income for the benefit of more inspection | en_US |
Appears in Collections: | Law-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Fulltext.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 3.57 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License