Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3739
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกฤติญดา เกิดลาภผล, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorนวลพรรณ รุ่งสบแสง, 2530--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-03-05T07:47:34Z-
dc.date.available2023-03-05T07:47:34Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3739-
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) แนวคิด ทฤษฎี หลักเกณฑ์เกี่ยวกับการลงโทษปรับทางปกครอง (2) แนวคิด ทฤษฎี หลักกฎหมายเกี่ยวกับการบังคับโทษปรับทางปกครองในระบบกฎหมายประเทศเยอรมัน กฎหมายประเทศฝรั่งเศส และพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (3) วิเคราะห์ปัญหาการบังคับโทษปรับทางปกครองตามพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 และที่แก้ไขเพิ่มเติม โดยพระราชบัญญัติ วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2562 เพื่อเสนอแนวทางหรือมาตรการที่เหมาะสมในการแก้ไขปรับปรุงเพิ่มเติมบทบัญญัติกฎหมายเกี่ยวกับการบังคับโทษปรับทางปกครอง การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้เป็นการวิจัยทางนิติศาสตร์ โดยการวิจัยเชิงคุณภาพ ด้วยวิธีการวิจัยเอกสาร จากหนังสือตำรา บทความ เอกสารทางวิชาการที่เกี่ยวกับการลงโทษปรับทางปกครองและการบังคับโทษปรับทางปกครองทั้งในระบบกฎหมายประเทศเยอรมัน กฎหมายประเทศฝรั่งเศส และพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ผลการศึกษาพบว่า การบังคับโทษปรับทางปกครองในระบบกฎหมายไทยมีปัญหาที่สำคัญสามประการ กล่าวคือ (1) ปัญหาความไม่ชัดเจนของบทบัญญัติกฎหมายเกี่ยวกับโทษปรับทางปกครอง (2) ปัญหาการนำบทบัญญัติว่าด้วยการบังคับทางปกครองตามพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 และที่แก้ไขเพิ่มเติม โดยพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2562 มาใช้บังคับกับการบังคับโทษปรับทางปกครอง (3) ปัญหาเขตอำนาจศาลปกครองในการบังคับโทษปรับทางปกครอง ผู้ศึกษาเสนอแนะให้มีการตราพระราชบัญญัติว่าด้วยการลงโทษปรับทางปกครองและการบังคับโทษปรับทางปกครอง โดยมีหลักการสำคัญในการกำหนดบทบัญญัติหลักกฎหมายทั่วไปเกี่ยวกับโทษปรับทางปกครอง หลักเกณฑ์ ขั้นตอนและวิธีการพิจารณาโทษปรับทางปกครอง ตลอดจนบทบัญญัติว่าด้วยการบังคับโทษปรับทางปกครองth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isootherth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.sourceReformated digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายมหาชน--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการบังคับคดีth_TH
dc.subjectกฎหมายปกครองth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--กฎหมายมหาชนth_TH
dc.titleการบังคับโทษปรับทางปกครองth_TH
dc.title.alternativeEnforcement of administrative fine penaltyth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this independent study were to study: (1) concepts, theories, and rules related to the administrative fine penalty; (2) concepts, theories, and principle laws related to enforcement of the administrative fine penalty in German laws, French laws and the Administrative Procedure Act, B.E. 2539 (1996) and its amendments; (3) analyze problems of the administrative fine penalty enforcement under the Administrative Procedure Act, B.E. 2539 (1996) and its amendments with the condition of applying the Administrative Procedure Act, B.E. 2539 (No.3), B.E. 2562 (2019), and to propose appropriate guidelines or measures to amend the provisions under the law on the enforcement of the administrative fine penalty. This independent study was legal research conducted by qualitative research using documentary research methods from books, textbooks, articles, and academic papers related to the administrative fine penalty and enforcement in German laws, French laws and the Administrative Procedure Act, B.E. 2539 (1996) and its amendments. The results of the study indicated that there were three major problems in the enforcement of the administrative fine penalty in Thai legal system, namely: (1) the ambiguity of the statutory provisions on the administrative fine; (2) introduction of the provisions on the administrative fine penalty enforcement under the Administrative Procedure Act, B.E. 2539 (1996) and its amendments with the condition of applying the Administrative Procedure Act, B.E. 2539 (No.3), B.E. 2562 (2019) to the enforcement of the administrative fine penalty; (3) the administrative jurisdiction in the enforcement of the administrative fine penalty. In this regard, it is suggested that Act on the Administrative Fine Penalty and Enforcement of Administrative Fine Penalty should be enacted by containing important principles in establishing general law provisions on the administrative fine penalty, rules, procedures and methods for determining the administrative fine penalty, as well as provisions on enforcement of the administrative fine penaltyen_US
Appears in Collections:Law-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม11.91 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons