Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3743
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสิริพันธ์ พลรบ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorนันทพร สมนารี, 2517--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-03-05T08:09:57Z-
dc.date.available2023-03-05T08:09:57Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3743-
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระเรื่องการทุเลาการบังคับตามกฎ : กรณีศึกษาการดำเนินกระบวนพิจารณาในศาลปกครองไทยมีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อศึกษาวิเคราะห์กระบวนพิจารณา หลักเกณฑ์และเงื่อนไขในการพิจารณาคำขอให้ศาลมีคำสั่งทุเลาการบังคับตามกฎของศาลปกครอง ทั้งตามหลักกฎหมายวิธีพิจารณาคดีปกครองของไทยและต่างประเทศ (2) เพื่อศึกษาวิเคราะห์และเปรียบเทียบการให้เหตุผลและการใช้ดุลพินิจของศาลในการพิจารณาคำขอให้ศาลมีคำสั่งทุเลาการบังคับตามกฎ ในคดีปกครองประเภทต่าง ๆ และ (3) เพื่อเสนอแนะแนวทางการปรับปรุงปรุงแก้ไขหลักเกณฑ์และเงื่อนไขตลอดจนกระบวนพิจารณาเกี่ยวกับการขอทุเลาการบังคับตามกฏของศาลปกครองไทย การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) โดยการวิจัยทางเอกสาร (Documentary Research) ด้วยการรวบรวมจากแหล่งต่าง ๆ ได้แก่ ตัวบทกฎหมาย ตำรา บทความวิชาการ คำพิพากษาและคำสั่งของศาลปกครอง เอกสารตำราต่าง ๆ และเอกสารอื่นที่เกี่ยวข้อง ผลการศีกษาพบว่า (1) กระบวนพิจารณาเกี่ยวกับการทุเลาการบังคับตามกฎของศาลปกครองไทย มีลักษณะใกล้เคียงกับศาลปกครองฝรั่งเศสก่อนที่จะมีการแก้ไขปรับปรุงกฎหมาย (2) คําสั่งเกี่ยวกับการทุเลาการบังคับตามกฎของศาลปกครองไทยในคดีประเภทต่าง ๆ มีความหลากหลายในการให้เหตุผลและการใช้ดุลพินิจของศาล และ (3) การดำเนินกระบวนพิจารณา เกี่ยวกับการทุเลาการบังคับตามกฎควรมีการแก้ไขระเบียบของที่ประชุมใหญ่ตุลาการในศาลปกครองสูงสุด ว่าด้วยวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. 2543 ดังนี้ (3,1) ข้อ 70 คำสั่งไม่รับคำขอทุเลาการบังคับตามกฎควรให้มีการอุทธรณ์ต่อศาลปกครองสูงสุดได้ (3.2) ข้อ 71 วรรคหนึ่งควรกําหนดให้ศาลไม่ต้องนัดไต่สวนก็ได้หากได้ข้อเท็จจริงที่เพียงพอต่อการวินิจฉัยแล้ว และ (3.3) ข้อ 73 คำสั่งยกคำขอทุเลาการบังคับตามกฎควรให้มีอุทธรณ์ต่อศาลปกครองสูงสุดได้ ทั้งนี้ การอุทธรณ์คำสั่งต่อศาลปกครองสูงสุดให้อุทธรณ์ภายใน 15 วันนับแต่วันที่ได้รับแจ้งคำสั่งศาล โดยให้ศาลปกครองสูงสุดพิจารณามีคำสั่งภายใน 48 ชั่วโมงหรือโดยเร็วที่สุดเพื่อพัฒนาการดำเนินกระบวนพิจารณาให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น และเกิดประโยชน์ต่อประชาชนอย่างสูงสุดth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายมหาชน--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectศาลปกครอง--ไทย--กฎหมายและระเบียบข้อบังคับth_TH
dc.titleการทุเลาการบังคับตามกฎหมาย : กรณีศึกษาการดำเนินกระบวนพิจารณาในศาลปกครองไทยth_TH
dc.title.alternativeSuspension of execution of rules : a case study of Thai Administrative Cour Procedureen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this independent study entitle Suspension of Execution of Rules : A Case Study of Thai Administrative Court Procedure are to (1) study the rules and conditions for the suspension of execution of rules in accordance to the administrative procedure in Thailand and other countries (2) to analyze the opinions for the judgements of courts with various administrative cases and (3) to propose the guideline for the improvement of regulations, conditions, and the appeal procedures for the suspension of execution of rules at the Administrative Courts of Thailand. The documentary - based qualitative research methodology has been applied for this independent study together with the collection of relative documents on laws, books, academic articles, and the Administrative Courts’ judgments. The study result has revealed these following issues (1) the similarity of the procedure for the suspension of execution of rules in the Administrative Courts of Thailand and the Administrative Courts of France (prior to the revision of relevant laws ), (2) the variety of the courts’ opinions for the consideration of the order for the suspension, and (3) the proposal for the amendment of the procedural rules of the general assembly of the Supreme Administrative Court’s Judges on the Administrative Case Proceedings B.E. 2543 (A.D. 2000) as follows; (3.1) Article 70, order for the rejection of the suspension may be appealed to the Supreme Administrative Court, (3.2) Article 71 Section 1, the case investigation is not obligated regarding the sufficiency of evident or documents for consideration, and (3.3) Article 73, order for the termination of the suspension is considered for the petition to the Supreme Administrative Court within 15 days after the notification of the court’s order. It is obligated that the Supreme Administrative Court should deliver the order within 48 hours, or in least time frame, in order to improve the administrative case procedure which would maintain the supreme benefits to the citizenen_US
Appears in Collections:Law-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม16.79 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons