Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/385
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorสมเกียรติ สัจจารักษ์th_TH
dc.contributor.authorอดุล นาคะโรth_TH
dc.contributor.authorสุวิชา วิริยมานุวงษ์th_TH
dc.contributor.authorนิพนธ์ บริเวธานนันท์th_TH
dc.contributor.authorเอมอร นาคหลงth_TH
dc.contributor.authorนัฏชฏารัตน์ ณ นครth_TH
dc.date.accessioned2022-08-10T04:27:32Z-
dc.date.available2022-08-10T04:27:32Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.citationวารสารศึกษาศาสตร์ ปีที่ 14, ฉบับที่ 1 (ม.ค. - มิ.ย. 2564), หน้า 15-28th_TH
dc.identifier.issn1905-4653-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/385-
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษากระบวนการจัดการเรียนรู้ผ่านชุมชนวิชาชีพ (PLC) 2) ศึกษาผลการจัดการเรียนรู้ผ่านชุมชนวิชาชีพ 3) ศึกษาปัญหาและอุปสรรคในการจัดการเรียนรู้ผ่านชุมชนวิชาชีพ ของโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต ฝ่ายประถมศึกษา กลุ่มเป้าหมายในการวิจัย ประกอบด้วย ตัวแทนนักเรียนจากห้องเรียนของครูต้นแบบ ชุมชนละ 3 คน โดยเป็นนักเรียน 24 คน ที่มีผลการเรียนต่ำกว่าเกณฑ์ที่ครูกำหนดไว้ ครู 28 คน ผู้บริหารโรงเรียน 2 คน และคณาจารย์จาก มหาวิทยาลัย 5 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสังเกต แบบมีส่วนร่วม และแบบสัมภาษณ์เจาะลึก วิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า 1) กระบวนการจัดการเรียนรู้ผ่านชุมชนวิชาชีพ ประกอบด้วย 3ขั้นตอน คือ การวางแผนการจัดการเรียนรู้ การปฏิบัติ และการสะท้อนคิดผลการปฏิบัติงาน 2) ผลการจัดการเรียนรู้ช่วยให้ครูมีความรู้ความเข้าใจในบริบทของวิชาที่สอน ได้แลกเปลี่ยนประสบการณ์กับเพื่อนครู มีความมั่นใจในการพูด มีความสนใจในเรื่องเทคนิคการสอนใหม่ ๆ ปฏิบัติงานด้วยความกระตือรือร้น มีความผูกพันต่อพันธกิจขององค์กร ทำงานร่วมกันเป็นทีมอย่างมีความสุข นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในเนื้อหาที่เรียนมากขึ้น ได้คิด ได้พูด ได้ปฏิบัติ ได้มีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนรู้ มีความสนใจ กระตือรือร้น สนุกในการเรียน และ 3) ปัญหา และอุปสรรคในการจัดการเรียนรู้ผ่านชุมชนวิชาชีพ ได้แก่ ห้องเรียนขาดอุปกรณ์เทคโนโลยีสำหรับจัดการเรียนรู้ให้น่าสนใจ ขาดงบประมาณสำหรับจัดซื้อวัสดุจัดทำสื่อ และผู้บริหารไม่มีเวลากำกับ ติดตาม ดูแลการดำเนินงานth_TH
dc.language.isootherth_TH
dc.publisherสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.subjectการศึกษาทางวิชาชีพth_TH
dc.subjectการวางแผนหลักสูตรth_TH
dc.titleการจัดการเรียนรู้ผ่านชุมชนการเรียนรู้วิชาชีพ (PLC) ของโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต ฝ่ายประถมศึกษาth_TH
dc.title.alternativeLearning management via professional learning community (PLC) in Phuket Rajabhat University Demonstration School, primary sectionth_TH
dc.typeArticleth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to (1) study the process of learning management via Professional Learning Community (PLC), (2) study the effects of learning management via PLC, and (3) study problems and obstacles of learning management via PLC in Phuket Rajabhat University Demonstration School, Primary Section. The target groups included 24 students who were representatives of low learning achievement student groups (from 3 community), 28 teachers, 2 school administrators and 5 lecturers from the University. The employed research tools were a participatory observation form, and an in-depth interview form. The research data was analyzed with content analysis. The research results were as follows: (1) the process of learning management via PLC consisted of the planning step (Plan), the practice step (Do), and the outcome reflection step (See); (2) the effects of learning management via PLC were as follows: the teachers gained more knowledge and understanding of the context of the courses they were teaching; they had learned and shared experiences with their colleagues; they were more confident to express ideas; they were interested in new teaching techniques; they had performed their work with more enthusiasm; they were committed to the mission of the organization; and they happily worked together in teams; the students, on the other hand, gained more knowledge and understanding of the contents they had learned; they had thought, spoken, and practiced; they had participated in learning activities; and they had been more interested, enthusiastic, and enjoyable in their learning; and (3) the problems and obstacles of learning management via PLC were the following: the lack of technological equipment in the classroom for making learning more interesting; the lack of budget for purchasing materials for production of instructional media; the school administrators having limited time in monitoring, follow up and supervise the work performance including participation in observation of teaching, and reflection of what had been learned resulting in the learning management via PLC being not continuous and less efficienten_US
Appears in Collections:STOU Education Journal

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
44186.pdfเอกสารฉบับเต็ม430.01 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.