Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3892
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสิริพันธ์ พลรบ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorบุญครอง ธรรมลี, 2521--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-03-09T04:01:34Z-
dc.date.available2023-03-09T04:01:34Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3892-
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระเรื่อง “การนำวิธีพิจารณาทางปกครองมาใช้ในวิธีพิจารณาอุทธรณ์ของคณะกรรมการพิทักษ์ระบบคุณธรรม” นี้ เป็นการศึกษาแนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับวิธีพิจารณาอุทธรณ์ของคณะกรรมการวินิจฉัยข้อพิพาท การดำเนินการทางวินัยแก่ข้าราชการพลเรือนสามัญตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการพลเรือน และวิธีพิจารณาอุทธรณ์ของ ก.พ.ค. รวมทั้งวิเคราะห์ปัญหาการนำวิธีพิจารณาทางปกครองตามกฎหมายว่าด้วยวิธีปฏิบัติราชการทางปกครองมาใช้ในวิธีพิจารณา อุทธรณ์ของ ก.พ.ค. และเสนอแนะการนำหลักวิธีพิจารณาทางปกครองมาใช้ในวิธีพิจารณาอุทธรณ์ของ ก.พ.ค. การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้เป็นการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพด้วยการวิจัยเอกสาร จากแนวคิด ทฤษฎี บทบัญญัติของกฎหมาย ความเห็นขององค์กรผู้มีอำนาจวินิจฉัยอุทธรณ์ และคำพิพากษาของศาล รวมทั้งข้อมูลต่าง ๆ จากตำรา บทความทางวิชาการ งานวิจัย หรือวิทยานิพนธ์ และสื่ออิเล็คทรอนิกส์ที่เป็นประโยชน์ต่อการศึกษาค้นคว้าอิสระในครั้งนี้ จากการศึกษาค้นคว้าพบว่า ก.พ.ค. มีสถานะเป็นคณะกรรมการวินิจฉัยข้อพิพาท ซึ่งโดยหลักจะไม่อยู่ในบังคับให้ต้องนำวิธีพิจารณาทางปกครองตามกฎหมายว่าด้วยวิธีปฏิบัติราชการทางปกครองมาใช้ในวิธีพิจารณาของตน แต่อย่างไรก็ตาม เพื่อให้เกิดความเป็นธรรมแก่คู่กรณีในอุทธรณ์ รวมทั้งสอดคล้องกับกฎ ก.พ.ค. ข้อ 5 วรรคสอง ที่กำหนดให้นำกฎหมายว่าด้วยวิธีปฏิบัติราชการทางปกครองมาใช้ในวิธีพิจารณาอุทธรณ์ของ ก.พ.ค. ในกรณีที่กฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการพลเรือน หรือกฎ ก.พ.ค. ดังกล่าวมิได้กำหนดเรื่องใดไว้โดยเฉพาะ ดังนั้น จึงสามารถนำหลักการตามกฎหมายวิธีพิจารณาทางปกครองมาใช้ในวิธีพิจารณาอุทธรณ์ของ ก.พ.ค. ได้เท่าที่ไม่ขัดหรือแย้งกับบทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการวินิจฉัยข้อพิพาท ดังนี้ 1) หลักความเป็นกลาง 2) หลักการสั่งให้ทุเลาการบังคับตามคำสั่งทางปกครอง 3) หลักการเพิกถอนคำสั่งทางปกครองที่ไม่ชอบด้วยกฎหมายว่าจะให้มีผลย้อนหลังหรือไม่ย้อนหลังหรือมีผลในอนาคตไปขณะใดขณะหนึ่ง 4) หลักการขอให้พิจารณาใหม่ และ 5) หลักการแจ้งคำสั่งทางปกครองหรือการนัดพิจารณาth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายมหาชน--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectอุทธรณ์th_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--นิติศาสตร์th_TH
dc.subjectวิธีพิจารณาคดีปกครอง--ไทยth_TH
dc.titleการนำวิธีพิจารณาทางปกครองมาใช้ในวิธีพิจารณาอุทธรณ์ของคณะกรรมการพิทักษ์ระบบคุณธรรมth_TH
dc.title.alternativeApplication of administrative procedure to the appellate procedure of the Merrit [i.e. Merit] System Protection Commision [i.e. Commission] (MSPC)en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of the independent study titled “Application of Administrative Procedure to the Appellate Procedure of the Merit System Protection Commission (MSPC)” were to examine the concept of appellate procedure of the quasi-judicial board, disciplinary proceedings of civil servants under the law on civil services and appellate procedure of the Merit System Protection Commission (MSPC), analyze problem on applying administrative proceeding under the law on administrative procedure to the appellate procedure of the MSPC, and provide advice for on the application of such administrative procedure to the appellate procedure of the MSPC. This qualitative research is a documentary study based on the concept of law, legal provision, opinions of appeals commissions, court judgments, textbooks, scholarly articles, academic research, dissertation, and electronic data which would be beneficial to this study. According to the study, the MSPC can be considered as a quasi-judicial board which is technically not binding with the administrative proceeding prescribed by law on administrative procedure. However, for best interest of the parties and with regards to clause 5 paragraph 2 of the MSPC regulation, which provides that the provisions of the law on administrative procedure would be applied to the appellate procedure of the MSPC in the event that MSPC regulation does not particularly prescribe such matter, the principles of the law on administrative procedure is able to be applied to the MSPC appellate process only when it does not conflict with the competence of the quasi-judicial board. The principles of the administrative procedure that can be applied to the procedure of the quasi-judicial board are as followed: 1) impartiality; 2) suspension of execution of administrative orders; 3) Revocation of illegal administrative order with or without retroactive effect or with future effect to any particular time; 4) retrial proceedings; and 5) notifications of the administrative order or the appointments of proceedingsen_US
Appears in Collections:Law-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม15.77 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons