Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3893
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวราภรณ์ รุ่งเรืองกลกิจ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorเกียรติภูมิ ชูเกียรติศิริ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorนฤมล มหาวรรณ-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-03-09T04:05:33Z-
dc.date.available2023-03-09T04:05:33Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3893-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารรัฐกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2550th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับความคิดเห็นของบุคลากรที่มีต่อปัจจัย ด้านลักษณะของเทศบาล ปัจจัยด้านสภาพแวดล้อมของเทศบาล ปัจจัยลักษณะของบุคลากรของ เทศบาล และด้านนโยบายการบริหารและการปฏิบัติงานของเทศบาล (2) รักษาระดับประสิทธิผล การดำเนินงานด้านความสามารถในการปรับตัว ความสามารถในการผลิต ความพึงพอใจ และการ พัฒนา (3) ศึกษาปัจจัยที่มีอึทธิพลต่อประสิทธิผลในการดำเนินงานของเทศบาลตำบลต้นเปา จังหวัดเชียงใหม่ การวิจัยครั้งนึ้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ กลุ่มตัวอย่างที่ใชัในการวิจัยคือ บุคลากรของ เทศบาลตำบลต้นเปา จังหวัดเชียงใหม่จำนวน 113 คน และกลุ่มตัวอย่างที่เป็นประชาชนในเขต เทศบาล จำนวน 400 คน เครื่องมือที่ใชัในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถาม สถิติที่ใชัในการ วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ค่ารัอยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ถดถอย พหุคูณ ผลการวิจัยพบว่า (1) บุคลากรของเทศบาลตำบลต้นเปา จังหวัดเชียงใหม่ มีระดับความ คิดเห็นต่อปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิผลขององค์การโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง เรียงลำดับ คะแนนเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ได้แก่ ด้านลักษณะบุคลากรของเทศบาล ด้านลักษณะของเทศบาล ด้านนโยบายการบริหารและการปฏิบัติงานของเทศบาล และด้านสภาพแวดล้อมของเทศบาล (2) ระดับประสิทธิผลของการดำเนินงานของเทศบาลโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง (3) ปัจจัยที่มี อิทธิพลต่อประสิทธิผลในการดำเนินงานของเทศบาล คือปัจจัยด้านนโยบายการบริหารและการ ปฏิบัติงานของเทศบาลth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectประสิทธิผลองค์การth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิผลขององค์การ : กรณีศึกษาเทศบาลตำบลต้นเปา จังหวัดเชียงใหม่th_TH
dc.title.alternativeFactors influencing organizational effectiveness : a case study of Ton Pao Sub-District Municipality Chiang Mai Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe research objectives were to (1) study the opinion level of officials on factors of municipality features, municipality environment, municipality official attributes, and municipality administrative and operational policies (2) study the operational effectiveness levels of the municipality in the aspects of the ability to adjust itself, ability to produce, satisfaction of the people and the municipality development (3) study the factors influencing the operational effectiveness of Ton Pao Sub-district Municipality, Chiang Mai Province. This research was a survey research. The samples were 113 officials of Sub-district Ton pao Municipality, Chiang Mai Province, and 400 residents in the area. The tool used to collect data was questionnaire. The statistics employed to analyze data were frequencies, percentage, means, standard deviation and multiple regression analysis. The results of the research found that (1) the opinion of officials of Ton pao Sub- district Municipality, Chiang Mai Province, on factors influencing the overall effectiveness of the organization was at the in medium level with the followings factors ranging from the highest to the lowest scores: personnel attributes, policies of administration and operations of the municipality, and municipality environment (2) the overall levels of operational effectiveness of the municipality were at the medium level and (3) the factor influencing the effectiveness of the operations of the municipality was the municipality administrative and operational policiesen_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
102049.pdfเอกสารฉบับเต็ม5.25 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons