Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3894
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอัจฉรา ชีวะตระกูลกิจth_TH
dc.contributor.authorแสงจันทร์ ทับสีนวลth_TH
dc.contributor.editorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.date.accessioned2023-03-09T04:06:53Z-
dc.date.available2023-03-09T04:06:53Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3894en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ปัจจัยส่วนบุคคลของผู้บริโภคที่ซื้อสินค้า 2) พฤติกรรมการซื้อสินค้าของผู้บริโภค 3) ระดับความสำคัญของปัจจัยส่วนประสมการตลาดต่อพฤติกรรมการซื้อสินค้า 4) ความสัมพันธ์ของปัจจัยส่วนบุคคลของผู้บริโภคกับพฤติกรรมการซื้อสินค้าของผู้บริโภค และ 5) ความสัมพันธ์ของปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดกับพฤติกรรมการซื้อสินค้าของผู้บริโภคร้านสหกรณ์เทเวศร์ จำกัด ประชากรที่ใช้ในการศึกษา คือ ผู้บริโภคที่เข้ามาใช้บริการในร้านสหกรณ์เทเวศร์ จำกัด จำนวนเฉลี่ย 1,050 คนต่อเดือน ขนาดตัวอย่างที่จะเก็บข้อมูลจำนวน 300 คน กำหนดขนาดตัวอย่างโดยสูตร Taro Yamane ที่ระดับความเชื่อมั่น 95% เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบไคสแควร์ ผลการศึกษา พบว่า 1) ปัจจัยส่วนบุคคลของผู้บริโภคส่วนใหญ่พบว่า ไม่เป็นสมาชิกสหกรณ์ เป็นเพศหญิง อายุระหว่าง 30 – 40 ปี สถานภาพโสด มีรายได้ระหว่าง 10,000 – 20,000 บาท อาชีพข้าราชการ การศึกษาระดับปริญญาตรี 2) พฤติกรรมการซื้อสินค้า ของผู้บริโภค ส่วนใหญ่ซื้อสินค้าประเภทของกิน เหตุผลในการซื้อเพราะสะดวกเดินทางไม่ไกล โดยเฉลี่ยต่อเดือนซื้อสินค้าน้อยกว่า 5 ครั้ง เวลาที่สะดวกในการซื้อคือวันจันทร์ ช่วงเวลาที่ซื้อคือ 11.01 – 13.00 น. ค่าใช้จ่ายเฉลี่ยในการซื้อต่อครั้ง 101 – 300 บาท และตัดสินใจในการซื้อสินค้าด้วยตัวัเอง 3) ระดับความสำคัญของปัจจัย ส่วนประสมทางการตลาดต่อพฤติกรรมการซื้อสินค้า โดยรวมมีความสำคัญ ในระดับมาก หากพิจารณาแยกปัจจัยพบว่า ปัจจัยด้านราคา ด้านผลิตภัณฑ์ ด้านช่องทางการจัดจำหน่าย มีความสัคญในระดับ มาก ส่วนปัจจัยด้านการส่งเสริมการตลาด มีความสำคัญ ในระดับ ปานกลาง 4) ความสัมพันธ์ของปัจจัย ส่วนบุคคลของผู้บริโภคกับพฤติกรรมการซื้อสินค้า พบว่า รายได้ อาชีพ ระดับการศึกษา มีความสัมพันธ์กับ พฤติกรรมการซื้อสินค้าทุกด้านอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 5) ความสัมพันธ์ของปัจจัย ส่วนประสมทางการตลาดกับพฤติกรรมการซื้อสินค้า พบว่า ค่าใช้จ่ายเฉลี่ยต่อครั้งในการซื้อสินค้า มีความสัมพันธ์กับปัจจัย ส่วนประสมทางการตลาดทุกด้าน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสหกรณ์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectสหกรณ์เทเวศร์th_TH
dc.subjectการซื้อสินค้า--การตัดสินใจth_TH
dc.subjectพฤติกรรมผู้บริโภคth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--สหกรณ์th_TH
dc.titleปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการซื้อสินค้าของผู้บริโภค ร้านสหกรณ์เทเวศร์ จำกัดth_TH
dc.title.alternativeFactors affecting the buying behavior of consumers at Tewes Cooperative Store Limiteden_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (สหกรณ์)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study 1) personal factors of consumers who bought merchandise at Tewes Cooperative Store Limited; 2) the buying behavior of those consumers; 3) the level of importance of marketing mix factors affecting the consumers’ buying behavior; 4) the relationships between consumers’ personal factors and their buying behavior; and 5) the relationships between marketing mix factors and consumers’ buying behavior. The study population was consumers who buy things at Tewes Cooperative Store Limited in Bangkok, who average 1,050 customers a month. Using the Taro Yamane method at 95% confidence level, a sample size of 300 was determined. Data were collected using a questionnaire. Data were analyzed using frequency, percentage, mean, standard deviation, and chi square. The results showed that 1 ) The majority of consumers surveyed were not members of the cooperative, were female, age in the range 30-40, single, with income in the range of 10,000-20,000 baht a month, government sector employees, and educated to bachelor’s degree level. 2) The majority of customers purchased food items. Their main reason for choosing the cooperative was that it was close by. On average they bought things there less than 5 times a month, and the most convenient time for them was 11:001-13:00 on Mondays. They spent on average 101-300 baht a time. They made the decision to buy by themselves. 3) Overall, all marketing mix factors had a high level of importance in influencing consumers’ buying decisions. The factors of price, product, and place were rated more important than the factor of promotion. 4) The personal factors of income, profession, and educational level were related to all studied variables of buying behavior to a statistically significant degree (p<0.05). 5) The buying behavior variable of average amount of money spent per time was related to every marketing mix factor to a statistically significant degree (p<0.05).en_US
Appears in Collections:Agri-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT_146257.pdfเอกสารฉบับเต็ม11.05 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons