Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3900
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอัจฉรา ชีวะตระกูลกิจ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสุชาดา สุขประเสริฐ, 2522--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.date.accessioned2023-03-09T04:57:21Z-
dc.date.available2023-03-09T04:57:21Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3900-
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) วิเคราะห์ผลการดำเนินงานและฐานะการเงินของสหกรณ์สวนปาล์มน้ำมันจังหวัดตราด จำกัด และ (2) เสนอแนะแนวการดำเนินงานในการบริหารธุรกิจของสหกรณ์สวนปาลม์ น้ามัน จังหวัดตราด จำกัด วิธีการศึกษาใช้ข้อมูลทุติยภูมิจากงบดุล งบกำไรขาดทุน หมายเหต ประกอบงบการเงิน และเอกสารทางการเงินอ่ืน ๆ ของสหกรณ์ในช่วงปีบัญชี 31 ธันวาคม 2553 - 2557 วิเคราะห์ข้อมูลโดยวิธีวิเคราะห์ตามแนวดิ่ง วิเคราะห์แนวโน้ม และวิเคราะห์อัตราส่วนทางการเงินแบบ CAMELS Analysis โดยเปรียบกับค่าเฉลี่ยของกรมตรวจบ้ญชีสหกรณ์ ผลการศึกษาพบว่า (1) สหกรณ์ดำเนินธุรกิจ 3 ธุรกิจได้แก่ ธุรกิจรวบรวมผลผลิตยอดขาย/บริการปีละ 36.15 - 76.08 ล้านบาท ธุรกิจจัดหาสินค้ามาจำหน่าย ยอดขาย/บริการ ปีละ 1.10 - 2.29 ล้านบาท และธุรกิจรับเงินฝาก ปีละ 4.00 -4.10 ล้านบาท อัตรากำไรสุทธิร้อยละ 0.34 - 1.16 ของยอดขาย/บริการ โดยค่าใช้จ่ายส่วนใหญ่เป็นต้นทุนขาย/บริการ สัดส่วนสินทรัพย์สหกรณ์ มีสินทรัพย์หมุนเวียนมากกว่สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน และมีสัดส่วนหนี้สินมากกว่า ส่วนของทุนของสหกรณ์มาตลอด 5 ปี และมีแนวโน้ม เพิ่มขึ้นทุกปี การวิเคราะห์อัตราส่วนทางการเงินแบบ CAMELS Analysis พบว่า มิติที่ 1 ความเพียงพอของเงินทุนต่อความเสี่ยง มีอัตราส่วนหนี้สินต่อทุนของสหกรณ์สูงกว่าค่าเฉลี้ย มิติที่ 2คุณภาพของสินทรัพย์อัตราผลตอบแทนต่อสินทรัพย์และอัตราเติบโตของสินทรัพย์มีประสิทธิภาพและมีความสามารถนำสินทรัพย์ไปก่อให้เกิดรายได้อย่างต่อเนื่อง มิติที่ 3 การบริหารจัดการมีขีดความสามารถในการบริหารสูงกว่าค่าเฉลี่ย มิติที่ 4 การทำกำไร มีความสามารถในการทำ กำไรต่อสมาชิกต่ำกว่าค่าเฉลี่ย มิติที่ 5 สภาพคล่อง มีอัตราส่วนทุนหมุนเวียนสูงกว่าค่าเฉลี่ย และมิติที่ 6 ผลกระทบต่อธุรกิจ สหกรณ์มีผลกระทบจากคู่แข่งขัน ในธุรกิจรวบรวมผลผลิตปาล์มน้ำมัน ในพื้นที่จำนวนมาก ต้นทุนการขนส่งแลราคาผลผลิตปาล์มมีการเปลี่ยนแปลงไม่แน่นอน (2) แนวการดำเนินงานในการบริหารธุรกิจของสหกรณ์ พบว่าความเพียงพอของเงินทุนต่อความเสี่งอยู๋ใ่นเกณฑ์ต่ำ เนื่องจากทุนส่วนใหญ่เป็นทุนจากภายนอก ควรส่งเสริมการออมแก่สมาชิกเพิ่มมากขึ้น ด้านการทำกำไรยังน้อยโดยเฉพาะต้นทุนการขาย/บริการสูง ควรควบคุมต้น ทุนขาย/บริการให้ลดลง และสหกรณ์ควรเพิ่มธุรกิจสินเชื่อเพื่อบริการสมาชิกด้วยเนื่องจากเป็นธุรกิจที่ต้น ทุนค่อนข้างต่ำและสหกรณ์มีคู่แข่งขัน ทางธุรกิจจำนวนมากสหกรณ์ควรศึกษาความต้องการของสมาชิกเพื่อปรับปรุงและสนองความต้องการของสมาชิกเพื่อสร้างความพึงพอใจสูงสุดth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isootherth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสหกรณ์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectสหกรณ์สวนปาล์มน้ำมันจังหวัดตราด--การประเมินth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--สหกรณ์th_TH
dc.subjectการเงินth_TH
dc.titleการวิเคราะห์ผลการดำเนินงานและฐานะการเงินของสหกรณ์สวนปาล์มน้ำมันจังหวัดตราด จำกัดth_TH
dc.title.alternativePerformance and financial status analysis of Trat oil palm cooperative limitedth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (สหกรณ์)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were (1) to analyze the financial performance and financial status of Trat Oil Palm Cooperative, Limited; and (2) to form suggestions for improving the operations of Trat Oil Palm Cooperative, Ltd. This research was based on secondary data, consisting of the financial accounts, balance sheets, accountant’s notes, and other financial documents of Trat Oil Palm Cooperative from the 31 December 2010 to the 31 December 2014 accounting years. Data were analyzed using common size analysis, trend analysis, and CAMELS analysis in comparison with the averages of the Cooperative Auditing Department. The results showed that (1 ) Trat Oil Palm Cooperative was involved in 3 kinds of business, namely, the produce consolidating/sales service business, with a business volume of 36.15-76.08 million baht a year, the merchandise acquisition for resale business, with a business volume of 1 .1 0 -2 .2 9 million baht a year, and the savings deposit business, with a business volume of 4.00 -4.10 million baht a year. The cooperative’s net profit rate was 0 .3 4 -1 .1 6 % of sales/service. Its major expenditures were sales/service costs. As for asset ratios, the cooperative had greater current assets than non-current assets. Its liabilities were proportionately higher than its capital for all 5 years studied, with a trend to continue to increase yearly. CAMELS analysis revealed that for 1) capital adequacy – the cooperative’s debt to capital ratio was higher than average; 2) asset quality – the rate of return on assets and the rate of growth of assets were efficient and the cooperative was continuously able to use its assets to earn income; 3) management quality- the cooperative had higher than average management capability; 4) earnings- the cooperative’s profit making ability per member was lower than average; 5) liquidity- its working capital ratio was higher than average; and 6) sensitivity to market risk – the cooperative was impacted by competition from many other oil palm purchasers/consolidators in the area, by transportation costs, and the uncertainty and frequent change in oil palm prices. (2) The cooperative had little capital to guard against risk of losses because most of its capital came from external sources. It is suggested that the cooperative should promote more savings among its members. Its profits were rather low, especially because of high sales/service costs, so those costs should be controlled and reduced. The cooperative should add a new line of business in the credit business to provide loans for its members, because the costs for this business are quite low. Lastly, to address the challenge of its many business competitors, the cooperative should study the needs of its members and improve its services to bring about better satisfaction.-
Appears in Collections:Agri-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT_148425.pdfเอกสารฉบับเต็ม17.38 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons