Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3907
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | เชาว์ โรจนแสง | th_TH |
dc.contributor.author | มัณฑนา ทรัพย์เจริญพันธุ์ | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-03-09T06:44:29Z | - |
dc.date.available | 2023-03-09T06:44:29Z | - |
dc.date.issued | 2550 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3907 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาปัจจัยส่วนบุคคลที่มีผลต่อการบริโภคยาแผนโบราณ (2) ศึกษาปัจจัยส่วนประสมการตลาดที่มีต่อพฤติกรรมการบริโภคยาแผนโบราณ และ (3) ศึกษาเกี่ยวกับทัศนคติในการบริโภคยาแผนโบราณของผู้บริโภคที่มีวางขายในร้านขายยา กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ประชาชนที่มีอายุ 20-60 ปี ที่มีภูมิลำเนาอยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบนจำนวน 400 คน ใช้แบบสอบถามเก็บรวบรวมข้อมูล และวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติค่าร้อยถะ, ค่าเฉลย, t-test, one way anova, chi-square ผลการวิจัยพบว่า (1) เมื่อเปรียบเทียบพฤติกรรมจำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคลพบว่า แหล่งที่ได้รับคำแนะนำให้ใช้ยาครั้งแรก และการเลือกใช้ยาแผนปัจจุบัน หริอยาแผนโบราณ หากยาทั้ง 2 ชนิดใช้รักษาโรคได้ดีพอๆ กัน ไม่มีความสัมพันธ์กับปัจจัยส่วนบุคคล (2) ความคิดเห็นที่มีต่อส่วนประสมทางการตลาดยาพบว่าโดยรวมมีความคิดเห็นอยู่ในระดับไม่แน่ใจ การเปรียบเทียนความคิดเห็นที่มีต่อส่วนประสมทางการตลาด จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคลได้ดังนี้ เพศ โดยรวมแล้วพบว่าไม่มีความแตกต่างกัน อายุพบว่า ด้านผลิตภัณฑ์ราคาช่องทางการจัดจำหน่ายไม่แตกต่างกันส่วนด้านการส่งเสริมการตลาดแตกต่างกันตามระดับอายุ จำแนกตามอาชีพพบว่า ความคิดเห็นที่มีต่อด้านผลิตภัณฑ์และด้านช่องทางการจัดจำหน่ายไม่แตกต่างกัน ส่วนด้านราคา และการส่งเสริมการตลาดมีความคิดเห็นแตกต่างกัน จำแนกตามรายได้ศาสนา และระดับวุฒิการศึกษาพบว่า ความคิดเห็นที่มีต่อส่วนประสมทางการตลาดยาแผนโบราณไม่แตกต่างกัน (3) ข้อมูลทางด้านทัศนคติทื่มีต่อยาแผนโบราณมีดังนี้ด้านความหลากหลายของยาแผนโบราณในท้องตลาด ด้านความเชื่อมั่นในสรรพคุณทางยา ด้านรสชาติ รูปแบบของยา ต้านความสะดวกในการหาขึ้อยา และต้านความเหมาะสมของราคายา มีความคิดเห็นอยู่ในระดับไม่แน่ใจทั้งหมด เปรียบเทียบทัศนคติ จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคลพบว่าอายุ เพศ ศาสนา อาชีพระดับรายได้ และ ระด้บวุฒิการศึกษาที่แตกต่างกันทัศนคติต่อยาแผนโบราณไม่แตกต่างกัน ในคำถามปลายเปิด ความคิดเห็นที่มีต่อ การพัฒนาผลิตภัณฑ์ยาแผนโบราณให้เป็นที่นิยมพบว่าด้านสรรพคุณยาแผนโบราณต้องระบุสรรพคุณให้ชัดเจนด้านรูปแบบยาแผนโบราณควรเป็นแคปซูล ด้านการบรรจุหีบห่อยาแผนโบราณควรบรรจุให้มิดชิดและสวยงาม ด้านราคายาเหมาะสมแล้ว ช่องทางการจัดจำหน่ายยาควรมีในร้านขายยาทั้วใปด้านการส่งเสริมการตลาดควรโฆษณามากขึ้น ด้านความคิดเห็นที่มีต่อข้อบกพร่องของยาแผนโบราณมีดังนี้ด้านสรรพคุณควรปรับปรุง ด้านรูปแบบควรเป็นแคปซูลเม็ด ด้านการบรรจุหีบห่อให้ทันสมัยมากขึ้น ด้านราคาเหมาะสมดีแล้ว ด้านช่องทางการจัดจำหน่ายควรขยายให้มากขึ้น ด้านการส่งเสริมการตลาดมีน้อยเกินไป การเปรียบเทียบความแตกต่างของงานวิจัยครั้งนี้มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | ยาแผนโบราณ | th_TH |
dc.subject | พฤติกรรมผู้บริโภค--ไทย (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ) | th_TH |
dc.title | พฤติกรรมการบริโภคยาแผนโบราณในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน | th_TH |
dc.title.alternative | Thai traditional medicine consumption behavior of drug in the Upper Northern Region | th_TH |
dc.type | Thesis | th_TH |
dc.degree.name | บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The aim of this research is 1) To acknowledge the considerable elements affecting on traditional medicine consumption. The key elements consist of personal factors; differentiate in gender, age, regional, occupation, income, and educational background, 2) 4 P’s of marketing affecting on traditional medicine consumption and 3) Attitudes toward the traditional medicine in pharmacy. The sample groups of research are 400 Northeast Thais with age 20-60 years old. The research methodology was random sampling by questionnaire and analyzed by means of percentage,arithemetic, t-test,one way anova, chi-square test.The result of this research was shown that (I) the study of consumer behaviors implied that the place introducing consumer to traditional medicine trial was not related to “Personal factors".(2) เท addition, many consumer opinions that 4 P’s of marketing were probable less affecting on their consumptions. The comparison in consumer opinions to traditional medicine in terms of 4 P’s of marketing obviously results, that if divided consumers in group by “Gender”, “Income", “Religion", and “Education background”, found that all 4 P’s of marketing were not related to consumer demand in traditional medicine. Unlikely, if divided by "age”, it implied that only Promotion was affected on consumer demand. If divided by “occupation”, revealed that Price and Promotion were both impact on consumer opinions. (3) This research also surveys the consumer’s attitudes toward traditional medicine in aspect of; Variety of traditional medicine in market, customer confidence in traditional medicine quality, customer satisfaction in taste, medicine form (pill, powder, and liquid), convenience in the medicine’s purchase, and Suitable market price of the traditional medicine. It included that consumers attitudinize to these aspects “moderate" at the lend. Also, "Personal factors" were not related to consumer’s attitudes to traditional medicine. From "opened questionnaire”, implied that developing traditional medicine to tailoring consumer satisfies toward 4 p’s of marketing; firstly, “Product”, was necessary to specify a medical property clearly, forming to capsule preferably, and the package should be more modem, attractive and tightly close. Secondly, “Price”, the traditional medicine provides reasonable price in market. Thirdly, “Place and distribution" should be more expanding in pharmacy. Lastly, “Promotion” should more advertise frequency on several media. All the differences and no difference of the mentioned comparisons were found at the level of significance of .05 | en_US |
dc.contributor.coadvisor | สุวีณา ตั่งโพธิสุวรรณ | th_TH |
Appears in Collections: | Manage-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
102054.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 10.97 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License