Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3914
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorลาวัลย์ หอนพรัตน์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorปรียาพร ศิรวาณิชย์, 2517--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-03-09T07:34:35Z-
dc.date.available2023-03-09T07:34:35Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3914-
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระเรื่องนี้วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาทฤษฎีการลงโทษทางอาญาตามแนวทางยุติธรรมทางอาญา และศึกษาทฤษฎีอันเป็นที่มาของกระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์ รวมทั้งรูปแบบการไกล่เกลี่ยข้อพิพาททางอาญาตามแนวทางยุติธรรมเชิงสมานฉันท์ก่อนเข้าสู่กระบวนการยุติธรรมทางอาญากระแสหลัก และศึกษาวิเคราะห์แนวคิด ทฤษฎีของรัฐธรรมนูญอันเป็นกฎหมายสูงสุดในการปกครองประเทศ ซึ่งก่อให้เกิดหลักนิติธรรม อันรัฐธรรมนูญได้บัญญัติรับรองไว้ เพื่อเป็นการรับรองว่าการกระทำใด ๆ ก็ตามต้องอยู่ภายใต้กฎหมาย ดังนั้นการนำกระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์มาใช้ในการไกล่เกลี่ยข้อพิพาททางอาญานั้นอาจเป็นการกระทำอันขัดต่อหลักการตามรัฐธรรมนูญเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยการวิจัยทางกฎหมาย ด้วยวิธีการวิจัยทางเอกสาร โดยการศึกษาค้นคว้าจากหนังสือ ตำราทางกฎหมาย บทความจากวารสาร เอกสารทางกฎหมายต่าง ๆ งานวิจัย สาระนิพนธ์ วิทยานิพนธ์ กฎหมาย ระเบียบปฎิบัติต่าง ๆ รวมถึงร่างพระราชบัญญัติ โดยค้นคว้าจากห้องสมุด ผลการศึกษาพบว่าหากเข้าสู่กระบวนการยุติธรรมทางอาญา ศาลอาจวิธีการหลีกเลี่ยงการจำคุกระยะสั้นสำหรับผู้ที่กระทำความผิดที่ไม่ร้ายแรง โดยศาลอาจรอการลงโทษแก่ผู้กระทำความผิด และตามกระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์ผู้ที่มาทำหน้าที่ไกล่เกลี่ยข้อพิพาทนั้นอาจเป็นผู้นำชุมชน ซึ่งไม่มีความรู้ทางกฎหมายจึงไม่สามารถตอบสนองการรับรองสิทธิทางกระบวนยุติธรรมได้ นอกจากนี้การไม่มีทนายความเข้ามาช่วยเหลือให้คำปรึกษากฎหมายอาจเป็นการสละสิทธิที่จะได้รับการคุ้มครองตามหลักนิติธรรม เป็นสิทธิขั้นพื้นฐาน (Fundamental Rights) ที่เป็นมาตรฐานขั้นตํ่าที่ได้รับจากการดำเนินการตามแนวทางกระบวนการยุติธรรมทางอาญากระแสหลัก ดังนั้นการไกล่เกลี่ยข้อพิพาททางอาญาอาจขัดต่อหลักนิติธรรม หากไม่มีรูปแบบที่คุ้มครองสิทธิในด้านต่าง ๆ แก่คู่กรณีในการที่จะเข้าสู่กระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายมหาชน--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectหลักนิติธรรม--ไทยth_TH
dc.subjectกระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์--ไทยth_TH
dc.subjectกระบวนการยุติธรรมทางอาญา--ไทยth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--นิติศาสตร์th_TH
dc.titleหลักนิติธรรมกับการไกล่เกลี่ยข้อพิพาททางอาญาตามแนวทางกระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์th_TH
dc.title.alternativeCriminal mediation according to restorative justice with the rule of lawen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
Appears in Collections:Law-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม9.21 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons