Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3924
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธวัชชัย สุวรรณพานิช, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorพงษ์พิพัฒน์ เขียวอุบล, 2512--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-03-09T08:55:20Z-
dc.date.available2023-03-09T08:55:20Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3924-
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระเรื่องนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงหลักการ แนวคิด ทฤษฎีและหลักเกณฑ์พื้นฐานที่เกี่ยวกับมาตรการชะลอฟ้องในคดีอาญา กฎหมายของประเทศไทยที่เกี่ยวกับมาตรการชะลอฟ้องในคดีอาญา เช่น รัฐธรรมนูญ ประมวลกฎหมายพิจารณาความอาญา รวมทั้งกฎหมายของต่างประเทศที่เกี่ยวข้อง และปัญหาการนำมาตรการชะลอฟ้องในคดีอาญามาใช้ในประเทศไทย เพื่อหาแนวทางการแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับการนำมาตรการชะลอฟ้องในคดีอาญามาใช้ในประเทศไทย การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้เป็นการวิจัยทางกฎหมายเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพด้วยวิธีการวิจัยทางเอกสาร ผลการศึกษาพบว่า ประเทศไทยควรนำมาตรการการชะลอฟ้องในคดีอาญามาใช้ เนื่องจากมีข้อดีหลายประการ เช่น ลดปริมาณคดีที่ขึ้นสู่ศาล ลดงบประมาณของรัฐ ลดอัตราการว่างงาน ลดนักโทษไม่ให้ล้นเรือนจำ แต่ทั้งนี้ ตาม มาตรา 10 ของ ร่างพระราชบัญญัติชะลอการฟ้อง พ.ศ....ที่ให้อำนาจศาลเป็นผู้ตรวจสอบการใช้ดุลยพินิจในการชะลอฟ้องของอัยการนั้น ควรเปลี่ยนเป็นให้พนักงานอัยการระดับสูงกว่า (เป็นผู้บังคับบัญชาของอัยการผู้สั่งชะลอฟ้อง) เป็นผู้ใช้อำนาจตรวจสอบดุลยพินิจในการสั่งชะลอการฟ้องของพนักงานอัยการผู้สั่งชะลอฟ้องก็เพียงพอแล้ว เพราะหากให้ศาลมาควบคุมตรวจสอบดุลพินิจในการสั่งชะลอฟ้องของอัยการได้ จะเป็นการขัดต่อหลักการแบ่งแยกอำนาจของประเทศไทย เพราะศาลมีอำนาจในการพิจารณาพิพากษาเท่านั้น ไม่ควรให้มีอำนาจทางบริหารแต่อย่างใด เพราะอำนาจในการสั่งคดีว่าจะฟ้องไม่ฟ้อง หรือจะชะลอฟ้องหรือไม่นั้น เป็นอำนาจทางการบริหารซึ่งควรเป็นอำนาจของอัยการ ทั้งนี้ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 197 และยังอาจจะขัดต่อประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาตรา 143 ที่ให้อำนาจในการสั่งฟ้องหรือไม่ฟ้องคดีอาญา เป็นดุลยพินิจของอัยการ ไม่ใช่อำนาจของศาลแต่อย่างใด โดยการสั่งชะลอฟ้องก็คือการสั่งไม่ฟ้องแบบหนึ่งเท่านั้นเอง กล่าวคือเป็นการสั่งไม่ฟ้องแบบมีเงื่อนไขนั่นเองth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายมหาชน--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการชะลอการฟ้องth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--นิติศาสตร์th_TH
dc.titleมาตรการการชะลอฟ้องในคดีอาญาth_TH
dc.title.alternativeSuspension of prosecutionen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
Appears in Collections:Law-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม11.26 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons