Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3937
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorภาณุมาศ ขัดเงางาม, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorพลเดช ศรีบุญเรือง, 2498--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-03-10T06:21:51Z-
dc.date.available2023-03-10T06:21:51Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3937-
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ในการปฏิบัติหน้าที่และการชาระค่าสินไหมทดแทน เพื่อศึกษาการใช้มาตรการบังคับทางปกครอง และเพื่อศึกษาผลกระทบในทางปฏิบัติของเจ้าหน้าที่ที่ใช้มาตรการบังคับทางปกครอง การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ด้วยวิธีวิจัยเอกสารจากการศึกษาค้นคว้า โดยการวิเคราะห์เนื้อหา การสัมภาษณ์ และการรายงานเชิงพรรณนาวิเคราะห์ ผลการศึกษา พบว่า ความผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ และผลแห่งการละเมิดของเจ้าหน้าที่ในระดับใดของเจ้าหน้าที่ ว่าเป็นการกระทำโดยจงใจและหรือประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง และต้องชำระค่าสินไหมทดแทนตามสัดส่วนผลแห่งการกระทำความผิด และไม่มีมาตรฐานกลางการวินิจฉัยการใช้อำนาจทางปกครองว่าเจ้าหน้าที่ผู้นั้นได้กระทำละเมิด ผลแห่งการละเมิดนั้นต้องชาระค่าสินไหมทดแทน และมีการใช้อำนาจทางปกครองออกคำสั่งให้ผู้นั้นชำระค่าสินไหมทดแทนภายในกำหนด ซึ่งหากไม่มีการชำระโดยถูกต้องครบถ้วน จะต้องมีหนังสือเตือนชำระภายในระยะเวลาที่กำหนดไม่น้อยกว่า 7 วัน หากไม่ปฏิบัติตามคำเตือน อาจใช้มาตรการบังคับทางปกครองโดยการยึดหรือายัดทรัพย์สิน ขายทอดตลาดทรัพย์สินของเจ้าหน้าที่ เพื่อนำเงินมาชำระหนี้ให้ครบถ้วน โดยให้ปฏิบัติตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งโดยอนุโลม และไม่ต้องฟ้องศาลเพื่อบังคับคดี และหากเห็นว่ายังมีข้อขัดข้องในการบังคับใช้กฎหมาย ไม่ตัดสิทธิที่จะยื่นฟ้องต่อศาลปกครองได้ และนอกจากนี้ พบว่า ผลกระทบในการปฏิบัติงานของนิติกรที่ได้รับมอบอำนาจใช้มาตรการบังคับทางปกครอง นิติกรยังขาดความรู้ ประสบการณ์และความเชี่ยวชาญ ไม่มีอำนาจหน้าที่ในการบังคับคดี และไม่มี แนวปฏิบัติที่ชัดเจนในการใช้มาตรการบังคับทางปกครอง หากใช้มาตรการบังคับทางปกครองดังกล่าวอาจไปกระทบต่อสิทธิเสรีภาพทรัพย์สินของประชาชน และสุ่มเสี่ยงต่อการถูกฟ้องคดีth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายมหาชน--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectความรับผิดของราชการ--ไทยth_TH
dc.subjectความรับผิด (กฎหมาย)th_TH
dc.subjectข้าราชการ--กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ--ไทยth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--กฎหมายมหาชนth_TH
dc.titleการใช้อำนาจทางปกครองในความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่th_TH
dc.title.alternativeThe exercising of officials’ abuse of administrative poweren_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this independent study are to study government officials’ abuse of power and fine payments, administrative measures, and impacts of officials exercise administrative measures by taking action of confiscation/sequestration and property auction in practice. This independent study is a legal, qualitative, documentary study with collection and analysis of information from interviews and descriptive analysis reports. The results showed that abuse of power of officials and effects of abuse of power of officials all levels were intentional and/or negligent. They needed to be fined for their misconduct. It was also found that there were no standard measures to determine officials’ power abuse. The persons that abused their power should be forced to pay a fine within a limited timeframe. If they do not do it, they should receive a warning within seven days. If they ignore the warning, administrative measure such as confiscation, sequestration, and auction should be enforced in order to take the money derived from that spent on repayment of their debts. The civil code should be enforced in such measure. There needs not be a case filed in court or prosecuted. If this is in conflict with law enforcement, the case can be filed in administrative court. Moreover, it was also found that lawyers who were authorized to enforce administrative measures did not have knowledge, experience and expertise on administrative measures. They do not have power to enforce cases and a clear guideline to use administrative measures. This might affect rights and liberty of people with properties and put them at risks of being sueden_US
Appears in Collections:Law-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม8.66 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons