Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3942
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรัตนา ดวงแก้วth_TH
dc.contributor.authorวิรกานต์ พงษ์นิรันดร, 2525-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-03-10T07:00:48Z-
dc.date.available2023-03-10T07:00:48Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3942en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีจุดประสงค์เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบสภาพการส่งเสริมบทบาทการมีส่วนร่วมของเครือข่ายครอบครัวในการพัฒนาผู้เรียนในสถานศึกษาระดับประถมศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 3 โดยจำแนกตามขนาดของสถานศึกษา กลุ่มตัวอย่างในการวิจัย คือ สถานศึกษาระดับประถมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมาเขต 3 ปีการศึกษา 2553 จำนวน 124 แห่ง ผู้ให้ข้อมูลคือ ผู้บริหารสถานศึกษาจำนวน 124 คน เครื่องมือที่ใชัเป็นแบบมาตรประมาณค่าเกี่ยวกับการส่งเสริมบทบาทการมีส่วนร่วมของเครือข่ายครอบครัวในการพัฒนาผู้เรียน มีค่าความเที่ยง 0.97 สถิติที่ใชัใน การวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ความแปรปรวน และการเปรียบเทียบรายคู่ด้วยวิธีของเชฟเฟ ผลการวิจัยพบว่า (1) การส่งเสริมบทบาทการมีส่วนร่วมของเครือข่ายครอบครัวในการ พัฒนาผู้เรียนในสถานศึกษาระดับประถมศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา นครราชสีมา เขต 3 อยู่ในระดับมาก (2) สถานศึกษาขนาดเล็ก และสถานศึกษาขนาดกลาง มีการส่งเสริมบทบาทการมีส่วนร่วมของเครือข่ายครอบครัว ในการพัฒนาผู้เรียนแตกต่างกับสถานศึกษาขนาดใหญ่ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 แต่สถานศึกษาขนาดเล็กกับสถานศึกษาขนาดกลาง มีการส่งเสริมบทบาทการมีส่วนร่วมของเครือข่ายครอบครัวในการพัฒนาผู้เรียนไม่ต่างกันth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารการศึกษา--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการศึกษา--การมีส่วนร่วมของบิดามารดาth_TH
dc.titleการส่งเสริมบทบาทการมีส่วนร่วมของเครือข่ายครอบครัวในการพัฒนาผู้เรียนในสถานศึกษาระดับประถมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 3th_TH
dc.title.alternativePromoting family networks' improvement roles in development of learners in elementary schools under the office of Nakhon Ratchasima Primary Education Service Area 3en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this independent study were to study and compare the conditions of promoting family networks’ participation roles in development of learners in elementary schools under the Office of Nakhon Ratchasima Primary Education Service Aiea 3, as classified by school size. The research sample consisted of 124 elementary schools under the Office of Nakhon Ratchasima Primary Education Service Aiea 3 in the academic year 2010. The research informants were 124 school administrators. The employed research instrument was a rating scale questionnaire on promoting family networks’ participation roles in development of learners, with reliability coefficient of 0.97. Statistics used in data analysis were the mean, standard deviation, ANOVA, and Scheffe' method for pah-wise comparison. The research findings were as follows: (1) the practice of promoting family networks’ participation roles in development of learners in elementary schools under the Office of Nakhon Ratchasima Primary Education Service Aiea 3 was rated at the high level: and (2) small and medium sized schools differed significantly at the .05 level from large schools in their practice levels of promoting family networks’ participation roles in development of learners: however, no significant difference was found between small and medium sized schools in their practice levels in promoting family networks' participation roles in development of learners.en_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
full_text128664.pdf14.17 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons