Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3943
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจีระ ประทีป, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorเสน่ห์ จุ้ยโต, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสุพรรณิการ์ เสรีกุล-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-03-10T07:28:57Z-
dc.date.available2023-03-10T07:28:57Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3943-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารรัฐกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2550th_TH
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัคถุประสงค์เพึ่อ (1) วิเคราะห์การบริหารการคลังตามโครงการหลักประกันสุขภาพ ถ้วนหน้า ของอำเภอวาริชภูมิ จังหวัดสกลนคร (2) เพื่อศึกษาวิเคราะห์ปัญหาอุปสรรคของการบริหารการคลัง ตามโครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ของอำเภอวาริชภูมิ จังหวัดสกลนคร (3) เพื่อเสนอแนะแนวทาง การพัฒนาการบริหารการคลังตามโครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ของอำเภอวาริชภูมิ จังหวัดสกลนคร การศึกษาวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยทำการศึกษาสถานพยาบาลในเขตอำเภอวาริชภูมิ ซึ่งประกอบด้วยโรงพยาบาลวาริชภูมิ 1 แห่ง และสถานีอนามัย 9 แห่ง ในการวิจัยนี้ได้ศึกษาวิจัยจากเอกสาร รายงานด้านการบริหารการคลัง และจากการสัมภาษณ์เจ้าหน้าที่ด้านการบริหารการคลัง จำนวน 14 คน ซึ่ง ประกอบด้วยเจ้าหน้าที่โรงพยาบาล จำนวน 5 คน และเจ้าหน้าที่สถานีอนามัย จำนวน 9 คน ผลการวิจัยพบว่า (1) ในปืงบประมาณ 2550 โรงพยาบาลและสถานีอนามัยมีรายได้รวมเพิ่มขึ้น 18,555,897.24 บาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 37.08 จากปืงบประมาณ 2549 ซึ่งเป็นผลมาจากการได้รับเงินกองทุน หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าเพิ่มมากขึ้น ในปืงบประมาณ 2550 โรงพยาบาลและสถานีอนามัยมีรายจ่ายรวม เพิ่มขึ้น 4,575,567.59 บาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 8.65 จากปืงบประมาณ 2549 โดยค่าเวชภัณฑ์ยาเป็นรายจ่ายที่มี การเพิ่มขึ้นมากที่สุด และในปืงบประมาณ 2550 โรงพยาบาลและสถานีอนามัยมีหนี้สินลดลง 2,325,873.37 บาท หรือลดลงร้อยละ 26.30 จากปืงบประมาณ 2549 ซึ่งส่วนใหญ่เป็นหนี้ค่าเวชภัณฑ์ยา สำหรับการวิเคราะห์ อัตราส่วนทางการเงินของโรงพยาบาลและสถานีอนามัย พบว่าอัตราส่วนเงินทุนหมุนเวียนในปืงบประมาณ 2549 เท่ากับ 0.48 ซึ่งอยู่ในเกณฑ์ต้องปรับปรุง ส่วนอัตราส่วนเงินทุนหมุนเวียนในปืงบประมาณ 2550 เท่ากับ 2.12 ซึ่งอยู่ในเกณฑ์ดี และอัตราส่วนสินทรัพย์คล่องตัวในปืงบประมาณ 2549 เท่ากับ 0.46 ซึ่งอยู่ในเกณฑ์ต้อง ปรับปรุง ส่วนอัตราส่วนสินทรัพย์คล่องตัวในปีงบประมาณ 2550 เท่ากับ 2.01 ซึ่งอยู่ในเกณฑ์ดี (2) ปัญหา อุปสรรคของการบริหารการคลัง คือ สถานีอนามัยมีปัญหาเรื่องการได้รับงบประมาณล่าช้า จึงทำให้ขาด งบประมาณในการดำเนินงานและมีปัญหาหนี้ค้างชำระ โรงพยาบาลและสถานีอนามัยมีรายจ่ายค่าวัสดุเพิ่มสูงขึ้น โดยค่าเวชภัณฑ์ยามีมูลค่าสูงสุดเป็นอันดับแรก และมีปัญหาเรื่องเจ้าหน้าที่ขาดความรู้เรื่องระเบียบการเบิกจ่าย (3) ข้อเสนอแนะแนวทางการพัฒนาการบริหารการคลัง คือ ควรลดระยะเวลาและลดขั้นตอนที่สำนักงาน สาธารณสุขจังหวัคสกลนคร โอนเงินมาให้สถานีอนามัยให้รวดเรึวขึ้น ควรลดรายจ่ายค่าเวชภัณฑ์ยาโดยการลด การใช้ยาเกินความจำเป็น และควรจัดอบรมให้ความรู้แก่เจ้าหน้าที่เรื่องระเบียบการเบิกจ่ายth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2007.228-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectโครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าth_TH
dc.subjectการคลัง--การบริหาร.--ไทยth_TH
dc.titleการวิเคราะห์การบริหารการคลังตามโครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ศึกษากรณีอำเภอวาริชภูมิ จังหวัดสกลนครth_TH
dc.title.alternativeAnalysis of fiscal administration for universal health insurance project : a case study of Waritchaphum District, Sakon Nakhon Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2007.228-
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were (1) to analyze the fiscal administration for Universal Health Insurance Project of Waritchaphum District, Sakon Nakhon Province. (2) to study and analyze problems and obstacles of fiscal administration for Universal Health Insurance Project of Waritchaphum District, Sakon Naldion Province. (3) to recommend the appropriate approach to develop fiscal administration for Universal Health Insurance Project of Waritchaphum District, Sakon Nakhon Province. This research was a qualitative research studying policlinics in the area of Waritchaphum District which comprised Waritchaphum Hospital and 9 primary care units. Data was collected from studying document on fiscal administration and from interviewing 14 fiscal administrative officers from 5 hospitals and 9 primary care units. The research result revealed that (1) in fiscal year 2007, total income of hospital and primary care units had increased for Baht 18,555,897.24 or 37'08 percent from fiscal year 2006, resulting from receiving more support from Universal Health Insurance funds; in fiscal year 2007, total expense of hospital and primary care units had increased for Baht 4,575,567.59 or 8.65 percent from fiscal year 2006, most of the increase was in medicine expenses; in fiscal year 2007, debts of hospital and primary care units had decreased for Baht 2,325,873.37 or 26.30 percent from fiscal year 2006, most of the debts were on medicine; as for the financial ratio analysis of hospital and primary care units, it was found that current ratio in fiscal year 2006 was 0.48 which should be improved, and the current ratio in fiscal year 2007 was 2.12 which was classified good; quick ratio in fiscal year 2006 was 0.46 which should be improved and the quick ratio in fiscal year 2007 was 2.01 which was also classified good (2) the problems of fiscal administration were the delay of budget allocation, the results of which were budget shortage and outstanding debts of primary care units; also, hospital and primary care units had higher supply expenses of which medicine expense was the highest; moreover, there was a problem of lack of knowledge in disbursement regulations among officers (3) the recommendation to develop fiscal administration were to reduce cycle time and streamline the process of budget transferring from Sakon Nakhon health office to primary care units, to decrease the medicine expense by reducing excessive using of medicine, and to provide training on disbursement regulations to the officers in chargeen_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
105297.pdfเอกสารฉบับเต็ม7.73 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons