Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3946
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorภาณุมาศ ขัดเงางามth_TH
dc.contributor.authorพิรุณ วุฒิศรี, 2505-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-03-10T07:50:06Z-
dc.date.available2023-03-10T07:50:06Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3946en_US
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระเรื่อง ความเสมอภาคในการปล่อยชั่วคราวในชั้นพนักงานสอบสวนนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาถึงแนวความคิดในการปล่อยชั่วคราวโดยเสมอภาค (2) ศึกษาและวิเคราะห์หลักเกณฑ์และวิธีการปล่อยชั่วคราวโดยเสมอภาคของประเทศไทยเปรียบเทียบกับประเทศที่ใช้ระบบกฎหมายจารีตประเพณี และประเทศที่ใช้ระบบกฎหมายลายลักษณ์อักษร (3) ทราบปัญหา และวิเคราะห์ปัญหาการปล่อยชั่วคราวผู้ต้องหาในชั้นพนักงานสอบสวนของสำนักงานตำรวจแห่งชาติ (4) เสนอแนะแนวทางแก้ไข ปรับปรุงหลักเกณฑ์การปล่อยชั่วคราวผู้ต้องหาในชั้นพนักงานสอบสวนของสำนักงานตำรวจแห่งชาติ เพื่อให้เกิดความเสมอภาคและเป็นธรรม การศึกษาค้นคว้าอิสระครั้งนี้เป็นการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพ ด้วยการศึกษาวิจัยเอกสาร จากเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการปล่อยชั่วคราว เช่น หนังสือ วิทยานิพนธ์ เอกสารทางวิชาการ รวมทั้งเอกสารอื่น ๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อการศึกษาในครั้งนี้ และนำเสนอข้อมูลแบบพรรณนาวิเคราะห์ ผลการศึกษาพบว่าหลักเกณฑ์การปล่อยชั่วคราวตามระบบกฎหมายของประเทศไทยได้วางหลักให้ผู้ต้องหาทุกคนได้รับการปล่อยชั่วคราวเป็นหลัก ส่วนการไม่อนุญาตให้ปล่อยชั่วคราวเป็นข้อยกเว้น การพิจารณาอนุญาตให้ปล่อยชั่วคราว ในคดีที่มีอัตราโทษจำคุกอย่างสูงไม่เกิน 5 ปี พนักงานสอบสวนสามารถเลือกปล่อยชั่วคราวได้ 3 รูปแบบ คือ ไม่มีประกัน หรือมีประกัน หรือมีประกันและหลักประกัน และจะกำหนดเงื่อนไขใดให้ผู้ต้องหาปฏิบัติเพื่อป้องกันการหลบหนีได้ ซึ่งหลักเกณฑ์ดังกล่าว เปิดโอกาสให้ใช้ดุลยพินิจได้อย่างกว้างขวาง แต่ในทางปฏิบัติไม่ว่าคดีจะมีอัตราโทษเท่าใด พนักงานสอบสวนมักจะเลือกปล่อยชั่วคราวโดยรูปแบบมีประกัน และหลักประกันทุกคดี ซึ่งการปล่อยชั่วคราวโดยมุ่งเน้นไปที่หลักประกันซึ่งมีคุณค่าทางเศรษฐกิจนั้น ทำให้เกิดความไม่เสมอภาคระหว่างผู้ต้องหาที่มีฐานะทางเศรษฐกิจดีกับผู้ต้องหาที่มีฐานะยากจน เนื่องจากผู้ต้องหาที่ยากจนไม่สามารถที่จะหาหลักประกันที่มีคุณค่าทางเศรษฐกิจมาเป็นหลักประกันได้th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชากฎหมายมหาชน--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectความเสมอภาคth_TH
dc.subjectการปล่อยชั่วคราวth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--กฎหมายมหาชนth_TH
dc.titleความเสมอภาคในการปล่อยชั่วคราวในชั้นพนักงานสอบสวนth_TH
dc.title.alternativeEquality in provisional releases in the inquiry official procedureen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis independent study on equality in provisional releases in the inquiry official procedure aims to: 1) study concepts on equality in provisional releases; 2) study and analyze principles and methods of equality in provisional releases in Thailand compared with countries under the common and civil laws system 3) realize and analyze problems of provisional releases of the accused by the inquiry official affiliated with the Royal Thai Police; and 4) give recommendations of making provisional releases principle more equal and fair. This independent study is a qualitative research studying documents on provisional releases such as books, theses, academic documents and other useful documents. This study is presented by the descriptive analysis method. It was found that principles of provisional releases in Thailand stated that all accused were mostly released. Any non-permitted release is exceptional. To consider and approve any provisional releases under the case where there is not less than 5 years in prison, the inquiry official is enable to choose the provisional releases in 3: release with no bail or on bail, release on bail security, and release with conditions that must be respected to prevent escaping. This opened cases to various kinds of consideration. However, in practice, whether the case having any penalty, the inquiry official usually chose to release the accused using the ‘release on bail security, and release’ method in every case and focusing on security with economic value. This caused inequality among the rich accused and poor accused because the poor accused could hardly find any security with economic value as its security for the provisional releases.en_US
Appears in Collections:Law-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม16.17 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons