Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3948
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจิราพร สุทันกิตระ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorพิชัย เขื่อนเพ็ชร์, 2512--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-03-10T08:32:57Z-
dc.date.available2023-03-10T08:32:57Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3948-
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาแนวคิด ทฤษฎีเกี่ยวกับดุลพินิจ ฝ่ายปกครอง ความเป็นมาและวิวัฒนาการของกฎหมายโรงแรมของไทย ตลอดจนปัญหาและอุปสรรคของพระราชบัญญัติโรงแรม พ.ศ. 2545 ที่มีผลต่อการใช้ดุลพินิจทางปกครองของนายทะเบียน รวมถึงแนวทางการพัฒนาและปรับปรุงแก้ไขพระราชบัญญัติโรงแรม พ.ศ. 2547 เกี่ยวกับขั้นตอนการใช้ดุลพินิจทางปกครองของนายทะเบียนเพื่อเป็นกลไกส่งเสริมและเสนอแนวทางการพัฒนากระบวนการขออนุญาตประกอบธุรกิจโรงแรมให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและสอดคล้อง กับเจตนารมณ์ของกฎหมาย การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพด้วยวิธีการวิจัยเอกสาร โดยรวบรวมข้อมูลจากเอกสารต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องทั้งหมด ไม่ว่าจะเป็นตัวบทกฎหมาย ตำรา บทความ วิทยานิพนธ์ สารนิพนธ์ งานวิจัย และข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ต่าง ๆ ทั้งภาษาไทย และภาษาต่างประเทศ เพื่อนำเสนอแนวทางการปรับปรุง และพัฒนากฎหมาย ผลการศึกษา พบว่าพระราชบัญญัติโรงแรม พ.ศ. 2547 เป็นกฎหมายที่ใช้มานาน มีบทบัญญัติหลายมาตราที่ไม่เหมาะสมกับการบังคับใช้ในปัจจุบัน เกิดปัญหาการบังคับใช้ ได้แก่ ปัญหาความไม่ชัดเจนของบทบัญญัติในการใช้ถ้อยคำที่มีความหมายไม่เฉพาะเจาะจง ปัญหาการใช้ดุลพินิจทางปกครองจากการที่กฎหมายเปิดโอกาสให้ผู้ประกอบธุรกิจโรงแรมสามารถดำเนินการก่อสร้างอาคารโรงแรมได้ก่อนที่จะมีการยื่นคำขออนุญาตต่อนายทะเบียนส่งผลให้นายทะเบียนไม่มีโอกาสใช้ดุลพินิจเบื้องต้นเพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบแบบแปลน แผนผัง และรายการ ของโรงแรมก่อนที่จะมีการก่อสร้างว่าเป็นไปตามเงื่อนไขที่กฎหมายกำหนดหรือไม่ และปัญหาด้านสภาพแวดล้อมในลักษณะช่องว่างทางกฎหมายทำให้เกิดการหลีกเลี่ยงกฎหมายขึ้นth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายมหาชน--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectดุลยพินิจth_TH
dc.subjectโรงแรม--กฎหมายและระเบียบข้อบังคับth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--กฎหมายมหาชนth_TH
dc.titleปัญหาการบังคับใช้พระราชบัญญัติโรงแรม พ.ศ. 2547 : ศึกษากรณีโรงแรมในจังหวัดเชียงรายth_TH
dc.title.alternativeEnforcement problem of Hotel Act B.E. 2547(2004) : case study of hotels in Chiang Rai provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objective of this independent study is to study the concept and theory relating to the administrative discretion, background and evolution of the regulation with regards to hotels in Thailand; the the exercise of the administrative discretion of the registrar under the Hotel Act B.E. 2545 (2002) , and propose guidelines for amendments of Hotel Act B.E. 2547 (2002) regarding the procedure of the exercise of administrative discretion of the registrar so as to make it more effective and consistent with the spirit of law. This independent study is qualitative Research using documentary method. Data was collected from all relevant documents i.e. provisions of law, textbooks, thesis, independent studies, researches, and electronic data both in Thai and foreign languages t. The findings indicated that the Hotel Act B.E. 2547 (2002) has been in force gfor a long time, with a number of unclear legal provisions that could result in difficulties in enforcement at present; administrative discretion to permit hotel business operators to to construct hotel building prior to submission of permission request to the registrarinhibit the registrar’s opportunity to exercise his/her primary discretion for consideration and consent on drawing plan, layout and particulars of the hotel prior to construction whether the conditions prescribed by law were complied; and environmental problem could result from inadequacy of the provisionsen_US
Appears in Collections:Law-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม62.9 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons