Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/394
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | คนองยุทธ กาญจนกูล | th_TH |
dc.contributor.author | นิพนธ์ แสนโคตร, 2515- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-08-10T06:16:16Z | - |
dc.date.available | 2022-08-10T06:16:16Z | - |
dc.date.issued | 2544 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/394 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ส.ม.(บริหารสาธารณสุข))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2544 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับความคิคเห็นของบุคลากรโรงพยาบาลชุมชน จังหวัดอุบลราชธานีที่มีค่าการพัฒนาทรัพยากรบุคคลตามกระบวนการพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล (Hospital Accreditation: HA) (2) เปรียบเทียบความคิดเห็นของบุคลากรระหว่างกลุ่มผู้บริหารกับกลุ่มผู้ปฏิบัติในโรงพยาบาลที่มีต่อการพัฒนาทรัพยากรบุคคลตามกระบวนการ HA (3) เปรียบเทียบความคิดเห็นของบุคลากรระหว่างโรงพยาบาลที่ผ่านการรับรองคุณกาพตามกระบวนการ HA กับโรงพยาบาลที่กำลังดำเนินการพัฒนาคุณภาพตามกระบวนการ HA ที่มีต่อการพัฒนาทรัพยากรบุคคล (4) ศึกษาปัญหา อุปสรรค ในการพัฒนาทรัพยากรบุคคลตามกระบวนการ HA (5) หาข้อเสนอแนะในการกำหนดแนวทางการพัฒนาทรัพยากรบุคคลตามกระบวนการ HA กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษาคือบุคลากรที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลชุมชน 7 แห่ง ที่เข้าร่วมโครงการ HA นำร่องของจังหวัดอุบลราชธานี ปึพ.ศ. 2544 จำนวน 288 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามมีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.95 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติทดสอบที (1 - test) การวิเคราะห์ความแปรปรวน (ANOVA) สถิติทดสอบมีเดียน (Median test) และการทดสอบความแตกต่างระหว่างค่าที่แตกต่างระหว่างคู่ที่แตกต่างด้วยวิธีของแทมฮาเน (Tamhane's test) ผลการวิจัยพบว่า (1) บุคลากรที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลชุมชนทั้ง 7 แห่ง มีความคิดเน้นเฉลี่ยโดยรวมต่อการพัฒนาทรัพยากรบุคคลตามกระบวนการ HA ในระดับมากทั้ง 5 ด้าน (2) บุคลากรกลุ่มผู้บริหารและกลุ่มผู้ปฏิบัติในโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชเดชอุดมและโรงพยาบาลม่วงสามสิบมีความคิดเห็นแตกต่างกันระดับนัยสำคัญ 0.05 (3) บุคลากรจากโรงพยาบาลสมเด็จพระบุพราชเดชอุดมที่ผ่านการรับรองคุณภาพตาม กระบวนการ HA และโรงพยาบาลกุดข้าวปุ้นที่กำลังดำเนินการพัฒนาคุณภาพตามกระบวนการ HA มีความคิดเห็นไม่แตกต่างกันที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 (4) บุคลากรส่วนใหญ่ยังขาดความเข้าใจต่อกระบวนการและแนวคิดการพัฒนาคุณภาพ (5) ผู้บริหารระดับสูงต้องให้ความสำคัญในเรื่องการจัดสรรงบประมาณและกำหนดผู้รับผิดชอบในการดำเนินการพัฒนาบุคลากรอย่างชัดเจน รวมทั้งมีการติดตามประเมินผลการพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่องเพื่อให้การพัฒนาทรัพยากรบุคคลประสบผลสำเร็จ | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสาธารณสุขศาสตร์--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | บุคลากรสาธารณสุข--ไทย | th_TH |
dc.subject | การพัฒนาบุคลากร | th_TH |
dc.subject | โรงพยาบาล--การรับรองคุณภาพ | th_TH |
dc.title | ความคิดเห็นของบุคลากรโรงพยาบาลชุมชนจังหวัดอุบลราชธานี เกี่ยวกับการพัฒนาทรัพยากรบุคคลตามกระบวนการพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล พ.ศ. 2544 | th_TH |
dc.type | Thesis | th_TH |
dc.degree.name | สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต (บริหารสาธารณสุข) | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this study were (I) to study the opinion levels of the community hospital personnel in Ubonratchathani Province concerning the human resource development (HRD) in the process of hospital accreditation (HA), (2) to compare the personnel opinions of the administrator group with those of the operation group concerning the HRD in the process of HA; (ใ) to compare the personnel opinions ol the hospital that passed the process of HA with those of the hospital that not passed; (4) to study the problems and obstacles about the HRD in the process of HA; (5) to find the recommendation about the HRD in the process of H A. The studied samples consisted of 288 community hospital personnel from 7 community hospitals that participated in HA pilot project of Ubonratchathani Province. Questionnaires were used for the study with reliability level at 0.95 Frequency, percentage, mean, standard deviation, t - test, ANOVA, Median test and the Tamhane’s test were used in data analysis. The research findings showed that (I) the average opinions ol the personnel from 7 hospitals were in high levels, (2) the administrator group and operation group from Detudom Hospital and Moungsamsip Hospital were significantly difference in their opinion levels (p < 0 05); (3) the personnel from Detudom Hospital that passed the process of HA and Khudcowpoon Hospital that not proces? 1°f 1 ,A were not S’gnincanlly difference in their opinion levels (p >0.05); (4) most of the personnel is still lack of the understanding against the process and the idea of quality improvement; (5) it is recommended that the high levels administrator must provide the appropriate budget and designate a proper person to take accountable for the HRD in the process of HA project as well as to perform a continual assessment for the quality improvement through the success of the human resource development | en_US |
dc.contributor.coadvisor | พรทิพย์ เชิดชูพงศ์ล้ำ | th_TH |
dc.contributor.coadvisor | วรางคณา ผลประเสริฐ | th_TH |
Appears in Collections: | Health-Theses |
This item is licensed under a Creative Commons License