Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3963
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุวรรณี ยหะการ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorขิ่น ดำแก้ว, 2504--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-03-11T05:09:19Z-
dc.date.available2023-03-11T05:09:19Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3963-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา วิทยาศาสตร์เรื่องแรงและพลังงานระหว่างนักเรียนที่เรียนด้วยวิธีการเรียนรู้แบบ 5 ขั้นและแบบปกติ และ (2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์เรื่องแรงและพลังงานของนักเรียนที่ เรียนด้วยวัฏจักรการเรียนรู้แบบ 5 ขั้นกับเกณฑ์ร้อยละ 75 กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 จำนวน 55 คน 2 ห้องเรียน ที่ได้มาจาก การสุ่มแบบกลุ่ม จากนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ทั้งหมดในโรงเรียนเวียงผาวิทยา จังหวัด เชียงราย ภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึกษา 2556 จำนวน 79 คน 3 ห้องเรียน เครื่องมือที่ใช้เป็นแผนการ จัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบวัฏจักรการเรียนรู้แบบ 5 ขั้น และแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนที่มีค่าความเที่ยงเท่ากับ 0.62 มีค่าความยากระหว่าง 54 - 71 และค่าอำนาจจำแนกรายข้อ ตั้งแต่ 0.25 - 0.72 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยพบว่า (1) นักเรียนที่เรียนด้วยรูปแบบวัฏจักรการเรียนรู้แบบ 5 ขั้นมี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่านักเรียนที่เรียนแบบปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ (2) นักเรียนที่เรียนด้วยรูปแบบวัฏจักรการเรียนรู้แบบ 5 ขั้น มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลัง เรียนสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 75 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isootherth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาหลักสูตรและการสอน --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectภาษาไทย--การอ่าน--การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา)th_TH
dc.subjectนิทานพื้นเมือง--การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา)--ไทย (ภาคใต้th_TH
dc.subjectภาษาไทย--การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา)--ไทย--ปัตตานีth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--หลักสูตรและการสอนth_TH
dc.titleผลการสอนโดยใช้นิทานพื้นบ้านมุสลิมปัตตานีที่มีต่อความสามารถในการอ่านจับใจความวิชาภาษาไทยของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนชุมชนบ้านต้นสน จังหวัดปัตตานีth_TH
dc.title.alternativeThe effects of teaching with the use of Pattani muslim folk tales on Thai language reading comprehension ability of Prathom Suksa II students at Chumchon Ban Ton Son School in Pattani Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were (1) to compare learning achievement in the science topic of force and energy between the students who learned by 5E learning cycle model and the students who learned by traditional teaching, and (2) compare learning achievement in the science topic of force and energy of the students who learned by 5Eslearning cycle model with the criteria of 75 percent.The sample of this study was 55 Prathom suksa II students from two classrooms, obtained from cluster random sampling from 79 prathom suksa II students, three classrooms in Wiang Pha Witthaya school, Chiang Rai province, in the first semester, academic year of 2013. Research instruments were science lesson plans using 5Es learning cycle model and learning achievement test which had reliability of 0.62, difficulty index between 0.54 – 0.71, and discriminant index from 0.25 – 0.72.The statistics used for data analysis were mean, percentage, standard deviation, and t-test. The research results showed that (1) the students who learned by 5Es learning cycle model was significantly learning achievement than the students who learned by traditional teaching at the level of .05, and (2) the students who learned by 5Es learning cycle model had significantly higher learning achievement than the criteria of 75 percentage at the level of .05.en_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_138652.pdfเอกสารฉบับเต็ม18.26 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons