กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3963
ชื่อเรื่อง: ผลการสอนโดยใช้นิทานพื้นบ้านมุสลิมปัตตานีที่มีต่อความสามารถในการอ่านจับใจความวิชาภาษาไทยของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนชุมชนบ้านต้นสน จังหวัดปัตตานี
ชื่อเรื่องอื่นๆ: The effects of teaching with the use of Pattani muslim folk tales on Thai language reading comprehension ability of Prathom Suksa II students at Chumchon Ban Ton Son School in Pattani Province
ผู้แต่ง/ผู้ร่วมงาน: สุวรรณี ยหะการ, อาจารย์ที่ปรึกษา
ขิ่น ดำแก้ว, 2504-
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์
คำสำคัญ: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาหลักสูตรและการสอน --การศึกษาเฉพาะกรณี
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณี
ภาษาไทย--การอ่าน--การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา)
นิทานพื้นเมือง--การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา)--ไทย (ภาคใต้
ภาษาไทย--การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา)--ไทย--ปัตตานี
การศึกษาอิสระ--หลักสูตรและการสอน
วันที่เผยแพร่: 2556
สำนักพิมพ์: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
บทคัดย่อ: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา วิทยาศาสตร์เรื่องแรงและพลังงานระหว่างนักเรียนที่เรียนด้วยวิธีการเรียนรู้แบบ 5 ขั้นและแบบปกติ และ (2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์เรื่องแรงและพลังงานของนักเรียนที่ เรียนด้วยวัฏจักรการเรียนรู้แบบ 5 ขั้นกับเกณฑ์ร้อยละ 75 กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 จำนวน 55 คน 2 ห้องเรียน ที่ได้มาจาก การสุ่มแบบกลุ่ม จากนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ทั้งหมดในโรงเรียนเวียงผาวิทยา จังหวัด เชียงราย ภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึกษา 2556 จำนวน 79 คน 3 ห้องเรียน เครื่องมือที่ใช้เป็นแผนการ จัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบวัฏจักรการเรียนรู้แบบ 5 ขั้น และแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนที่มีค่าความเที่ยงเท่ากับ 0.62 มีค่าความยากระหว่าง 54 - 71 และค่าอำนาจจำแนกรายข้อ ตั้งแต่ 0.25 - 0.72 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยพบว่า (1) นักเรียนที่เรียนด้วยรูปแบบวัฏจักรการเรียนรู้แบบ 5 ขั้นมี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่านักเรียนที่เรียนแบบปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ (2) นักเรียนที่เรียนด้วยรูปแบบวัฏจักรการเรียนรู้แบบ 5 ขั้น มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลัง เรียนสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 75 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
URI: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3963
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:Edu-Independent study

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
fulltext_138652.pdfเอกสารฉบับเต็ม18.26 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการนี้ได้รับอนุญาตภายใต้ Creative Commons License Creative Commons