Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3964
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorดวงเดือน พินสุวรรณ์th_TH
dc.contributor.authorจันทร์จิรา ใจดี, 2525-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-03-11T05:21:23Z-
dc.date.available2023-03-11T05:21:23Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3964en_US
dc.description.abstractการวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการอ่านจับใจความ วิชาภาษาไทยโดยใช้นิทานพื้นบ้านมุสลิมปัตตานีเป็นสื่อการเรียนรู้ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนชุมชน บ้านต้นสน จังหวัดปัตตานี ระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียน กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่2 โรงเรียนชุมชนบ้านต้นสน จังหวัดปัตตานี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556 จำนวน 28 คน ได้มาจากการสุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ ในการวิจัยประกอบด้วยแผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้นิทานพื้นบ้านมุสลิมปัตตานีเป็นสื่อในการ จัดการเรียนรู้และแบบทดสอบวัดความสามารถในการอ่านจับใจความวิชาภาษาไทย สถิติที่ใช้ใน การวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยพบว่า ความสามารถในการอ่านจับใจความวิชาภาษาไทยของนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนชุมชนบ้านต้นสน จังหวัดปัตตานี ที่เรียนโดยใช้นิทานพื้นบ้านมุสลิม ปัตตานี หลังเรียนสูง กว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาหลักสูตรและการสอน--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectวิทยาศาสตร์--กิจกรรมการเรียนการสอนth_TH
dc.subjectวิทยาศาสตร์--การสอนด้วยสื่อth_TH
dc.subjectวิทยาศาสตร์--การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา)th_TH
dc.subjectผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน--วิทยาศาสตร์th_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--หลักสูตรและการสอนth_TH
dc.titleผลการจัดการเรียนรู้ตามรูปแบบวัฏจักรการเรียนรู้แบบ 5 ขั้น วิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง แรงและพลังงานที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนเวียงผาวิทยา จังหวัดเชียงรายth_TH
dc.title.alternativeEffects of learning management based on the 5Es learning cycle model in the science topic of force and energy on learning achievement of Prathom Suksa II students at Wiang Pha Witthaya School in Chiang Rai Provinceth_TH
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to compare Thai language reading comprehension abilities of Prathom Suksa II students at Chumchon Ban Ton Son School in Pattani province before and after learning with the use of Pattani Muslim folk tales as the learning media.The research sample consisted of 28 Prathom Suksa II students studying in the first semester of the 2013 academic year at Chumchon Ban Ton Son School in Pattani province, obtained by cluster sampling. The employed research instruments comprised learning management plans with the use of Pattani Muslim folk tales as the learning media, and a test on Thai language reading comprehension ability. Statistics for data analysis were the mean, standard deviation, and t-test. Research findings showed that the post-learning Thai language reading comprehension ability of Prathom Suksa II students at Chumchon Ban Ton Son School in Pattani province, who learned with the use of Pattani Muslim folk tales as the learning media, was significantly higher than their pre-learning counterpart ability at the .05 level.en_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_138452.pdfเอกสารฉบับเต็ม17.67 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons