Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3965
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนวลจิตต์ เชาวกีรติพงศ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorจันทร์เพ็ญ อุ่นแก้ว, 2510--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-03-11T05:50:40Z-
dc.date.available2023-03-11T05:50:40Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3965-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อ (1) พัฒนาชุดฝึกเสริมทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐานสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านดาน จังหวัดศรีสะเกษ ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 และ (2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ด้านทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐานของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านดานก่อนเรียนและหลัง เรียนโดยใช้ชุดฝึกเสริมทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐาน กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 28 คน ใน 1 ห้องเรียนของ โรงเรียนบ้านคาน จังหวัดศรีสะเกษ ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย ชุดฝึกเสริมทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐาน และแบบทดสอบวัด ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐานที่ผู้วิจัยได้พัฒนาขึ้น สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าประสิทธิภาพ E, E, ค่าดัชนีประสิทธิผล ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิจัยครั้งนี้ผลปรากฏว่า (1) ชุดฝึกเสริมทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้น พื้นฐานสำหรับนักเรียนชั้นประถมปีที่ 6 โรงเรียนบ้านดาน มีประสิทธิภาพ 83.05/81.14 และมีค่า ดัชนีประสิทธิผล 0.59 และ (2) ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐานของนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปีที่ 6 หลังเรียนด้วยชุดฝึกเสริมทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐานสูงกว่า ทักษะดังกล่าวก่อนเรียนth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.languagethen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาหลักสูตรและการสอน --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectวิทยาศาสตร์--การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา)th_TH
dc.subjectทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์th_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--หลักสูตรและการสอนth_TH
dc.titleผลการใช้ชุดฝึกเสริมทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐานที่มีต่อทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านดาน จังหวัดศรีสะเกษth_TH
dc.title.alternativeThe effects of using a basic science process skills enhancing package on basic science process skill of Prathom Suksa VI students at Ban Dan School in Si Sa Ket Province / Effects of using a basic science process skills enhancing package on basic science process skill of Prathom Suksa VI students at Ban Dan School in Si Sa Ket Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research were (1) to develop a basic science process skills enhancing package for Prathom Suksa VI students at Ban Dan School in Si SaKet province based on the 80/80 efficiency criterion; and (2) to compare learning achievements on basic science process skills of Prathom Suksa VI students at Ban Dan School before and after learning with the use of the basic science process skills enhancing package. The research sample consisted of 28 Prathom suksa VI students in an intact classroom of Ban Dan School in Si Sa Ket Province during the second semester of the 2013 academic year. Research instruments consisted of the basic science process skills enhancing package and a science process skills test, developed by the researcher. Statistics employed for data analysis were the E1/E2 index, effectiveness index, mean, and standard deviation. The research findings showed that (1) the developed basic science process skills enhancing package was efficient at 83.05 /81.14 and its effectiveness index was 0.59; and (2) Prathom Suksa VI students’ post-learning basic science process skills achievement was higher than their pre-learning counterpart achievement.en_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_143481.pdfเอกสารฉบับเต็ม17 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons