Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3977
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอภิรักษ์ อนะมานth_TH
dc.contributor.authorจุฬาลักษณ์ ลัทธิกุล, 2524-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-03-11T07:45:42Z-
dc.date.available2023-03-11T07:45:42Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3977en_US
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) สร้างหนังสือส่งเสริมการอ่านนิทาน พื้นบ้าน จังหวัดนครสวรรค์ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนเทศบาลวัดสุคตวราราม จังหวัดนครสวรรค์ และ (2) ตรวจสอบคุณภาพของหนังสือส่งเสริมการอ่านที่สร้างขึ้น กลุ่มตัวอย่างได้แก่ ผู้ทรงคุณวุฒิ 3 คน และนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 จำนวน 10 คน ได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ได้แก่ แบบประเมินคุณภาพหนังสือของ ผู้ทรงคุณวุฒิ และแบบสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับหนังสือของนักเรียน สถิติที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการศึกษาค้นคว้ามีดังนี้ (1) หนังสือที่สร้างขึ้นมีจำนวน 8 เรื่อง เนื้อหาเป็นนิทาน พื้นบ้านจังหวัดนครสวรรค์ มีภาพสีประกอบ และมีคำถามท้ายเล่ม และ (2) ผลการตรวจสอบ คุณภาพหนังสือส่งเสริมการอ่าน โดยผู้ทรงคุณวุฒิ ด้านรูปเล่มและการจัดรูปแบบ สำนวนภาษา เนื้อหา ภาพประกอบ คุณค่าและประโยชน์ที่ได้รับ มีคะแนนเฉลี่ยโดยรวม เท่ากับ 4.64 แสดงว่ามี ความเหมาะสมในระดับมากที่สุด และ ผลการตรวจสอบคุณภาพหนังสือส่งเสริมการอ่านโดย นักเรียน ด้านรูปเล่มและการจัดรูปแบบ สำนวนภาษา เนื้อหา ภาพประกอบ คุณค่าและประโยชน์ที่ ได้รับ มีคะแนนเฉลี่ยโดยรวม เท่ากับ 2.62 แสดงว่ามีความเหมาะสมในระดับมาก สรุปได้ว่า หนังสือส่งเสริมการอ่านนิทานพื้นบ้านจังหวัดนครสวรรค์ ที่สร้างขึ้นมีคุณภาพเหมาะสมมากth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาหลักสูตรและการสอน--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectหนังสืออ่านประกอบ--การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา)--ไทย--ครสวรรค์th_TH
dc.subjectนิทานพื้นเมือง--การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา)--ไทย (ภาคกลาง)th_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--หลักสูตรและการสอนth_TH
dc.titleการสร้างหนังสือส่งเสริมการอ่านนิทานพื้นบ้านจังหวัดนครสวรรค์สำหรับนักเรียนขั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนเทศบาลวัดสุคตวราราม จังหวัดนครสวรรค์th_TH
dc.title.alternativeConstruction of a reading enhancement book on Nakhon Sawan Province folk tales for Prathom Suksa III students at Tessaban Wat Sukhotwararam school in Nakhon Sawan Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this independent study were (1) to construct a reading enhancement book on Nakhon Sawan Folk Tales for Prathom Suksa III students at Tessaban Wat Sukhotwararam School in Nakhon Sawan province; and (2) to verify quality of the constructed reading enhancement book. The sample consisted of 3 experts and 10 Prathom Suksa III students, obtained by purposive selection. The employed instruments were a book quality evaluation form for experts and a questionnaire on opinions towards the book for students. Statistics employed for data analysis were the mean and standard deviation. Findings of the study were that (1) the constructed reading enhancement book comprised a series of eight Nakhon Sawan folk tales, with color illustrations and end-of-story questions; and (2) results of quality verification of the book by experts on the aspects of book’s appearance and arrangement, language style, contents, illustrations, and values and benefits showed that the experts’ total rating mean was 4.64, which was at the highest appropriate level; and results of quality verification of the book by the students on the aspects of book’s appearance and arrangement, language style, contents, illustrations, and values and benefits showed that the total rating mean was 2.62 which was at the highly appropriate level; therefore, it could be concluded that the constructed reading enhancement book on Nakhon Sawan Folk Tales had quality at the highly appropriate levelen_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_139394.pdfเอกสารฉบับเต็ม25.99 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons