กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/398
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | ปารวี บุญเพชร์ | th_TH |
dc.contributor.author | ชูชาติ พ่วงสมจิตร์ | th_TH |
dc.contributor.author | เก็จกนก เอื้อวงศ์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-08-10T06:33:27Z | - |
dc.date.available | 2022-08-10T06:33:27Z | - |
dc.date.issued | 2564 | - |
dc.identifier.citation | วารสารศึกษาศาสตร์ ปีที่ 14, ฉบับที่ 1 (ม.ค. - มิ.ย. 2564), หน้า 29-44 | th_TH |
dc.identifier.issn | 1905-4653 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/398 | - |
dc.description.abstract | การวิจัยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราชตามการรับรู้ของครู 2) ความเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของสถานศึกษา และ3) ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษากับความเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของสถานศึกษา กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ครูสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช 361 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษาและความเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของสถานศึกษา มีค่าความเที่ยงเท่ากับ .983 และ .954 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน ผลการวิจัยพบว่า 1) ภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช โดยภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก ได้แก่ ด้านปฏิสัมพันธ์ ด้านการปฏิบัติงาน และด้านบุคลิกภาพ 2) ความเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของสถานศึกษาโดยภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก ได้แก่ ด้านองค์การ ด้านเทคโนโลยี ด้านการเรียนรู้ ด้านความรู้ และด้านบุคลากร และ 3) ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษากับความเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของสถานศึกษาในภาพรวมมีความสัมพันธ์เชิงบวกในระดับสูง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 โดยมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เท่ากับ .738 | th_TH |
dc.language.iso | other | th_TH |
dc.publisher | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | - |
dc.subject | ภาวะผู้นำทางการศึกษา | th_TH |
dc.title | ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษากับความเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช | th_TH |
dc.title.alternative | Relationship between innovation leadership of school administrators and being learning organization of schools under Nakhon Si Thammarat primary education service area offices | th_TH |
dc.type | Article | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this research were to study (1) innovation leadership of school administrators under Nakhon Si Thammarat Primary Education Service Area Offices as perceived by teachers; (2) the being learning organization of schools; and (3) the relationship between innovation leadership of school administrators and the being learning organization of schools. The research sample consisted of 361 teachers in schools under Nakhon Si Thammarat Primary Education Service Area Offices. The employed research instrument was a rating scale questionnaire on innovation leadership of school administrator and the being learning organization of school, with reliability coefficients of .983, and .954 respectively. Statistics employed for data analysis were the frequency, percentage, mean, standard deviation, and Pearson’s product-moment correlation. The research findings were as follows: (1) both the overall and specific aspects of innovation leadership of school administrators under Nakhon Si Thammarat Primary Education Service Area Offices were rated at the high level, with the specific aspects being the interaction aspect, the work performance aspect, and the personality aspect; (2) both the overall and specific aspects of the being learning organization of schools were rated at the high level, with the specific aspects being the organization aspect, the technology aspect, the learning aspect, the knowledge aspect, and the personnel aspect; and (3)the relationship between the overall innovation leadership of school administrators and the overall being learning organization of schools was positive and at the high level, with the correlation coefficient of .738 which was significant at the .01 level | en_US |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | STOU Education Journal |
รายการนี้ได้รับอนุญาตภายใต้ Creative Commons License