Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3994
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorดวงเดือน พินสุวรรณ์th_TH
dc.contributor.authorชลนิกาญจน์ ปัตถามัง, 2523-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-03-11T12:47:11Z-
dc.date.available2023-03-11T12:47:11Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3994en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่องสารและสมบัติของสาร ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนเทศบาล 2 วัดอ้อมใหญ่ จังหวัดนครปฐม ที่เรียนโดยการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD กับของนักเรียนที่เรียนแบบ ปกติ และ (2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและสมบัติของสาร ของนักเรียนดังกล่าว ที่เรียนโดยการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD กับเกณฑ์ร้อยละ 70 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยเป็นนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนเทศบาล 2 วัดอ้อมใหญ่ จังหวัดนครปฐม ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556 จำนวน 2 ห้องเรียน มีนักเรียนทั้งหมด 50 คน ซึ่งได้มาจากการสุ่มแบบกลุ่ม แล้วจับฉลากเพื่อกำหนดเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม จำนวนกลุ่มละ 25 คน โดยกลุ่มทดลองเรียนโดยการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือโดยใช้เทคนิค STAD กลุ่มควบคุมเรียนโดยการจัดการเรียนรู้แบบปกติ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ แผนการจัดการ เรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD เรื่องสารและสมบัติของสาร จำนวน 8 แผน และแบบทดสอบวัดผล สัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่องสารและสมบัติของสาร สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที่ ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและสมบัติ ของสาร ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนเทศบาล 2 วัดอ้อมใหญ่ จังหวัดนครปฐม ที่เรียน โดยการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD สูงกว่าของนักเรียนที่เรียนแบบปกติอย่างมีนัยสำคัญ ที่ระดับ .05 และ (2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและสมบัติของสาร ของ นักเรียนดังกล่าว ที่เรียนโดยการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยเทคนิค STAD หลังเรียนสูงกว่าเกณฑ์ ร้อยละ 70 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 คำสำคัญ การจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ เทคนิค STAD ประถมศึกษา วิทยาศาสตร์ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาหลักสูตรและการสอน--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectวิทยาศาสตร์--การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา)--ไทย--นครปฐมth_TH
dc.subjectวิทยาศาสตร์--การสอนด้วยสื่อth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--หลักสูตรและการสอนth_TH
dc.subjectผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน--วิทยาศาสตร์th_TH
dc.titleผลการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่องสารและสมบัติของสารของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนเทศบาล 2 วัดอ้อมใหญ่ จังหวัดนครปฐมth_TH
dc.title.alternativeEffects of cooperative learning management using STAD technique on science learning achievement in the topic of substance and substance properties of Prathom Suksa VI students at Tessaban 2 Wat Orm-Yai School in Nakhon Pathom Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were (1) to compare science learning achievement in the topic of Substance and Substance Properties of Prathom Suksa VI students at Tessaban 2 Wat Om-Yai School in Nakhon Pathom province who learned under the cooperative learning management using STAD technique with that of students who learned under the traditional method; and (2) to compare against the 70 per cent criterion the science learning achievement in the topic of Substance and Substance Properties of the students who learned under the cooperative learning management using STAD technique. The research sample consisted of 50 students in two intact classrooms of Tessaban 2 Wat Om-Yai School in Nakhon Pathom province during the second semester of the 2013 academic year, obtained by cluster sampling. Then, one classroom consisting of 25 students was randomly assigned as the experimental group to learn under the cooperative learning management using STAD technique; the other classroom also consisting of 25 students, the control group to learn under the traditional method. The employed research instruments were eight learning management plans for cooperative learning using STAD technique in the topic of Substance and Substance Properties, and a science learning achievement test in the topic of Substance and Substance Properties. Statistics used for data analysis were the percentage, mean, standard deviation, and t-test. The research findings showed that (1) the science learning achievement in the topic of Substance and Substance Properties of Prathom Suksa VI students at Tessaban Wat Om-Yai School in Nakhon Pathom province who learned under the cooperative learning management using STAD technique was significantly higher than the counterpart learning achievement of the students who learned under the traditional method at the .05 level; and (2) the science learning achievement in the topic of Substance and Substance Properties of the students who learned under the cooperative learning management using STAD technique was significantly higher than the 70 per cent criterion at the .05 level.en_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_143408.pdfเอกสารฉบับเต็ม24.48 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons