Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4028
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุมนทิพย์ บุญสมบัติth_TH
dc.contributor.authorทองพูน เจือไทย, 2518-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-03-11T23:15:08Z-
dc.date.available2023-03-11T23:15:08Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4028en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) พัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่องภูมิปัญญาท้องถิ่นจังหวัดสมุทรสาคร ในวิชาท้องถิ่นของเรา สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 (2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนก่อนและหลังการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่องภูมิปัญญาท้องถิ่นจังหวัดสมุทรสาคร และ (3) ศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่องภูมิปัญญาท้องถิ่นจังหวัดสมุทรสาคร กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2555 โรงเรียน เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ จังหวัดสมุทรสาคร จำนวน 33 คน ซึ่งได้มาจากการสุ่ม อย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่องภูมิปัญญาท้องถิ่น จังหวัดสมุทรสาคร ในวิชา ง น อง แบบ ลชน ผล มฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่ใช้ ทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน และแบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อบทเรียน คอมพิวเตอร์ช่วยสอน สถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ค่าประสิทธิภาพ E1/E2 ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัย พบว่า (1) บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนที่พัฒนาขึ้น มีประสิทธิภาพ 81.06/80.91 ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์ 80/80 ที่กำหนดไว้ (2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักเรียนหลัง การใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนสูงกว่าก่อนใช้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ระติบ .05 และ (7) นักเรียนมีความคิดเห็นต่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ ชิวสอนว่า ความเหมาะสมอยู่ในระบบที่สุดth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาหลักสูตรและการสอน--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectภูมิปัญญาชาวบ้าน--การศึกษาและการสอนth_TH
dc.subjectภูมิปัญญาชาวบ้าน--ไทย--สมุทรสาครth_TH
dc.subjectนักเรียนมัธยมศึกษา--กิจกรรมการเรียนการสอนth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--หลักสูตรและการสอนth_TH
dc.titleการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเรื่องภูมิปัญญาท้องถิ่นจังหวัดสมุทรสาครในวิชาท้องถิ่นของเรา สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ สมุทรสาครth_TH
dc.title.alternativeDevelopment of a computer assisted instruction program in physics on the topic of folk wisdoin Samut Sakhon Province in the our local area course for Mathayom Suksa I students of Srinagarindra the Princess Mother School in Samut Sakhon Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were (1) to develop a computer assisted instruction program on the topic of Folk Wisdom in Samut Sakhon Province in the Our Local Area Course for Mathayom Suksa I students based on the 80/80 efficiency criterion; (2) to compare learning achievements of the students before and after using the computer assisted instruction program on the topic of Folk Wisdom in Samut Sakhon Province; and (3) to study the students’ opinion towards the computer assisted instruction program on the topic of Folk Wisdom in Samut Sakhon Province. The research sample consisted of 33 randomly selected Mathayom Suksa I students studying in the second semester of the 2012 academic year at Srinagarindra the Princess Mother School in Samut Sakhon province. The employed research instruments were a computer assisted instruction program on the topic of Folk Wisdom in Samut Sakhon Province in the Our Local Area Course; a student’s learning achievement test for pre-testing and post-testing; and a questionnaire on student’s opinion towards the computer assisted instruction program. Statistics for data analysis were the E1/E2 efficiency index, mean, standard deviation, and t-test. The research findings showed that (1) the developed computer assisted instruction program was efficient at 81.06/80.91 which met the 80/80 efficiency criterion; (2) the post-learning achievements of the students who used the computer assisted instruction program was significantly higher than its pre-learning counterpart at the .05 level; and (3) the students had the opinion that the developed computer assisted instruction program was appropriate at the highest level.en_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_139963.pdfเอกสารฉบับเต็ม18.9 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons