กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4028
ชื่อเรื่อง: การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเรื่องภูมิปัญญาท้องถิ่นจังหวัดสมุทรสาครในวิชาท้องถิ่นของเรา สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ สมุทรสาคร
ชื่อเรื่องอื่นๆ: Development of a computer assisted instruction program in physics on the topic of folk wisdoin Samut Sakhon Province in the our local area course for Mathayom Suksa I students of Srinagarindra the Princess Mother School in Samut Sakhon Province
ผู้แต่ง/ผู้ร่วมงาน: สุมนทิพย์ บุญสมบัติ, อาจารย์ที่ปรึกษา
ทองพูน เจือไทย, 2518-
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์
คำสำคัญ: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาหลักสูตรและการสอน --การศึกษาเฉพาะกรณี
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณี
ภูมิปัญญาชาวบ้าน--การศึกษาและการสอน
ภูมิปัญญาชาวบ้าน--ไทย--สมุทรสาคร
นักเรียนมัธยมศึกษา--กิจกรรมการเรียนการสอน
การศึกษาอิสระ--หลักสูตรและการสอน
วันที่เผยแพร่: 2556
สำนักพิมพ์: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
บทคัดย่อ: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช้า สอนเอง มิ ปัญญาท้องถิ่นจังหวัดสมุทรสาคร ในวิชาท้องถิ่นของนา หรับนักเรียน น น น าปีที่ 1 ใ ประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 (2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนก่อนและหลัง การใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่องภูมิปัญญาท้องถิ่นจังหวัดสมุทรสาคร และ (3) ศึกษา ความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน กุมิปัญญาท้องถิ่นจังหวัดสมุทรสาคร กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2555 โรงเรียน เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ จังหวัดสมุทรสาคร จำนวน 33 คน ซึ่งได้มาจากการสุ่ม อย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่องภูมิปัญญาท้องถิ่น จังหวัดสมุทรสาคร ในวิชา ง น อง แบบ ลชน ผล มฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่ใช้ ทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน และแบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อบทเรียน คอมพิวเตอร์ช่วยสอน สถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ค่าประสิทธิภาพ E1/E2 ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัย พบว่า (1) บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนที่พัฒนาขึ้น มีประสิทธิภาพ 81.06/80.91 ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์ 80/80 ที่กำหนดไว้ (2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักเรียนหลัง การใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนสูงกว่าก่อนใช้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ระติบ .05 และ (7) นักเรียนมีความคิดเห็นต่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ ชิวสอนว่า ความเหมาะสมอยู่ในระบบที่สุด
URI: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4028
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:Edu-Independent study

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
fulltext_139963.pdfเอกสารฉบับเต็ม18.9 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการนี้ได้รับอนุญาตภายใต้ Creative Commons License Creative Commons