Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4032
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorทวีศักดิ์ จินดานุรักษ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorนาซีเราะห์ สือรี, 2526--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-03-11T23:44:47Z-
dc.date.available2023-03-11T23:44:47Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4032-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่องดาราศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนทางธรรมวิทยามูลนิธิ จังหวัดสงขลา ระหว่างก่อนและหลังการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้แบบ 5E และ (2) ศึกษาเจตคติต่อวิชา วิทยาศาสตร์ของนักเรียนดังกล่าว หลังได้รับการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้แบบ 5E กลุ่มตัวอย่างที่ใช้เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนทางธรรมวิทยามูลนิธิ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556 จำนวน 1 ห้องเรียน รวม 15 คน โดยการเลือกแบบเจาะจง กลุ่มตัวอย่างได้รับการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้แบบ 5E เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ (1) แผนการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ เรื่องดาราศาสตร์ที่ใช้การจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหา ความรู้แบบ 5E จำนวน 8 แผน (2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์เรื่องดารา ศาสตร์ที่มีค่าความเที่ยงเท่ากับ 70 และ (3) แบบวัดเจตคติต่อวิชาวิทยาศาสตร์ที่มีค่าความเที่ยง เท่ากับ .97 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานผลการวิจัยพบว่า (1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์หลังการเรียนเรื่องดารา ศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนธรรมวิทยามูลนิธิ ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบสืบ เสาะหาความรู้แบบ5E สูงกว่าก่อนเรียน และ (2) นักเรียนดังกล่าวที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบสืบ เสาะหาความรู้แบบ 5E หลังเรียนมีเจตคติต่อวิชาวิทยาศาสตร์อยู่ในระดับสูงth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาหลักสูตรและการสอน --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectวิทยาศาสตร์--กิจกรรมการเรียนการสอนth_TH
dc.subjectวิทยาศาสตร์--การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)--ไทย--สงขลาth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--หลักสูตรและการสอนth_TH
dc.subjectการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้เป็นกลุ่มth_TH
dc.titleผลการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้แบบ 5E ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและเจตคติต่อวิชาวิทยาศาสตร์เรื่อง ดาราศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนทางธรรมวิทยามูลนิธิ จังหวัดสงขลาth_TH
dc.title.alternativeThe effects of inquiry learning activities management with emphasis on coorperative learning in the topic of genetics on learning achievement of Mathayom Suksa III students at Thangthamvittaya Foundation School in Songkhla Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were (1) to compare science learning achievements on the topic of Astronomy of Matthayom Suksa III students at Thangthamvittaya Foundation School in Songkhla province before and after learning under the 5E inquiry instructional management approach; and (2) to study attitude toward science of the students after learning under the 5E inquiry instructional management approach. The sample consisted of 15 Matthayom Suksa III students in an intact classroom of Thangthamvittaya Foundation School in Songkhla province during the first semester of the 2013 academic year, obtained by purposive selection. They learned the science topic under the 5E inquiry instructional management approach. The employed research instruments were (1) eight learning management plans for the topic of Astronomy using the 5E inquiry instructional management approach; (2) a science learning achievement test on the topic of Astronomy, with reliability of .70; and (3) a scale to assess the attitude toward science, with reliability of .97. The statistics used for data analysis were the percentage, mean, and standard deviation. The findings were as follows: (1) the post-learning science learning achievement of Matthayom Suksa III students at Thangthamvittaya Foundation School who learned the topic under the 5E inquiry instructional management approach was higher than their pre-learning counterpart achievement; and (2) the post-learning attitude toward science of the students who learned under the 5E inquiry instructional management approach was at the high level.en_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_140170.pdfเอกสารฉบับเต็ม12.72 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons